Reliability of Questionnaire inQuantitative Research
Main Article Content
Abstract
การเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อใช้ในการวิเคราะห์สำหรับการวิจัยเชิง ปริมาณนั้น โดยทั่วไป พบว่าผู้วิจัยนิยมใช้แบบสอบถามในการรวบรวมข้อมูล เพราะมีความสะดวกและสามารถใช้เก็บรวบรวมข้อมูลได้คราวละมาก ๆ โดย เฉพาะในการวิจัยเชิงพฤติกรรมศาสตร์และสังคมศาสตร์ ซึ่งผู้วิจัยมักจะสร้าง แบบสอบถามจากกรอบแนวคิดการวิจัยที่ผ่านกระบวนการทบทวนวรรณกรรม อย่างเป็นระบบ กล่าวได้ว่าวัตถุประสงค์หลักของแบบสอบถามในการวิจัย คือ เป็นเครื่องมือในการรวบรวมข้อมูล ก่อนที่จะนำไปวิเคราะห์และประมวลผล เพื่อสร้างสารสนเทศของการวิจัย ดังนั้น แบบสอบถามที่พัฒนาหรือปรับปรุง ขึ้นในการวิจัยจึงต้องมีคุณภาพ คุณสมบัติประการหนึ่งของแบบสอบถาม คือ การมีความเชื่อมั่น บทความนี้มีวัตถุประสงค์ในการนำเสนอวิธีการวัดความเชื่อ มั่นของแบบสอบถาม ประกอบด้วยการอธิบายแนวคิดของความเชื่อมั่น ประเภทและวิธีการวัดความเชื่อมั่นของแบบสอบถาม ปัจจัยที่ส่งผลต่อความ เชื่อมั่น และข้อเสนอแนะในการวัดความเชื่อมั่น อันจะก่อประโยชน์สำหรับผู้ วิจัยในการเลือกใช้วิธีการวัดความเชื่อมั่นของแบบสอบถามให้เหมาะสมกับ บริบทของการวิจัยนั้นๆ
Reliability of Questionnaire in Quantitative Research
Prasopchai Pasunon
According to mostly data collection for an analysis in quantitative research, it was found that researchers got used to apply questionnaire for gathering data because of it provides convenience and can collect a large volume of data each time. Especially in both behavioral and social research, the researchers designed a questionnaire from a conceptual framework through systematic literature review. The main purpose of questionnaire was to use it as a tool for the data collection, which was made before data analysis and data processing. Therefore, a developed questionnaire for a research must be effective. Reliability is also one of characteristic of questionnaire. An objective of this article was to propose an approach to measure questionnaire reliability. It consisted of a concept of reliability, its type and measurement to a questionnaire, factors which affected reliability, as well as suggestions of how to measure reliability. This could be useful for researchers to choose an appropriate measure of reliability for each context of research.