Participatory Action Research for the Conservationon Local Wisdoms of Lao Khrang’s Woven Cloth
Main Article Content
Abstract
การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์ (1) เพื่อศึกษาประวัติความเป็นมา ประเพณี พิธีกรรม วิถีชีวิตความเป็นอยู่เกี่ยวกับการใช้ผ้าทอลาวครั่งในวิถีชีวิตของ ชาวลาวครั่งบ้านสระยายชี (2) เพื่อศึกษาสภาพปัจจุบันและปัญหาของการผลิต การอนุรักษ์ฟื้นฟูผ้าทอลาวครั่งบ้านสระยายชี โดยใช้การมีส่วนร่วมของชุมชน ผลการวิจัยพบว่า ชาวชุมชนบ้านสระยายชี สืบเชื้อสายมาจากลาวหลวงพระบาง มีความเชื่อที่เกี่ยวข้องกับวิถีชีวิต ประเพณีวัฒนธรรม ผ้าที่ทอ คือ ผ้ามัดหมี่ ผ้าขิด ผ้าจก ปัญหาการผลิตผ้าทอของชุมชน คือ บุคลากรผู้ชำนาญการทอผ้าเป็น ผู้สูงอายุ มีจำนวนน้อย เยาวชนผู้รับการถ่ายทอดภูมิปัญญาต้องเข้าศึกษา ขั้นพื้นฐานตามที่กฎหมายกำหนดในโรงเรียน ไม่มีเวลาเรียนทอผ้า ตลาดของ ผ้าทออยู่ในวงจำกัด แนวทางอนุรักษ์ฟื้นฟูโดยการปลูกฝังค่านิยมและสร้าง ความภาคภูมิใจในคุณค่าของผ้าทอลาวครั่ง จัดหลักสูตรท้องถิ่นผ้าทอลาวครั่ง ในโรงเรียน และเผยแพร่ประชาสัมพันธ์การใช้ผ้าทอลาวครั่งให้เป็นที่รู้จักอย่างกว้างขวาง
Participatory Action Research for the Conservation on Local Wisdoms of Lao Khrang’s Woven Cloth
Bussaba Hintow
The purpose of this research were 1) to study the history of custom, ritual ceremony and way of life of the people at Barn Sa Yai Shee who use Lao Khrang’s woven cloth, 2) to study the current condition, and production problems, conservation on Lao Khrang’s woven cloth at Barn Sa Yai Shee by community participation. The findings found that the community of Barn Sa Yai Shee has descended from Luang Phra Bang. They believe in ways of life, custom, and culture. They produce woven cloth: Pha Mudmee, Pha Khit, Pha Jok. The production problem of thecommunity was a small number of skilled weavers who are elderly people exist. The youths who have been trained for the weaving have to study for the basic education in schools, therefore, they cannot spend longer time in the training. The markets of the cloth are still limited. The conservation trends in value and pride building in Lao Khrang’s woven cloth should be organized in terms of curriculum in schools and the use of Lao Khrang’s woven cloth should be publicized widely.