An Econometric Analysis of Smoking and Health: Evidence from Thailand

Main Article Content

นฤมล จังโหลนราช
พินิจ ดวงจินดา

Abstract

การสูบบุหรี่ในประเทศไทยเป็นปัญหาร้ายแรงของสังคม แนวทางในการ ดำเนินการแก้ไขปัญหาที่ผ่านมาให้ความสำคัญกับการกำหนดนโยบาย การเข้าใจ พฤติกรรมการสูบบุหรี่และสาเหตุที่เกิดจากการสูบบุหรี่มีความสำคัญต่อการ กำหนดนโยบายที่จะนำไปปฏิบัติใช้ วัตถุประสงค์การศึกษานี้เพื่อศึกษาปัจจัย และพฤติกรรมที่มีผลต่อโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ จำแนกตามภูมิภาคและภาพ รวมของประเทศไทย โดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิแบบภาคตัดขวาง จำนวน 76 จังหวัด วิเคราะห์โดยใช้สมการ Multiple Regression วิธี OLS ผลการศึกษาพบว่า สาเหตุของการเป็นโรคมะเร็งปอด โรคหัวใจและโรคปอดอุดกั้นเรื้อรังในภาพ รวมของประเทศมีความแตกต่างกับผลการวิเคราะห์ในแต่ละภูมิภาค และผล การศึกษาในแต่ละภูมิภาคสาเหตุการเป็นโรคที่เกิดจากการสูบบุหรี่ก็มีความ แตกต่างกัน ขึ้นอยู่กับการดูแลสุขภาพในอดีตของบุคคลในแต่ละพื้นที่ และ โครงสร้างสังคม เศรษฐกิจของแต่ละภูมิภาค ดังนั้นในการกำหนดมาตรการ หรือนโยบายจะต้องมีความเหมาะสมและครอบคลุมลักษณะปัญหาที่เกิดขึ้น ในแต่ละพื้นที่เพื่อเป็นการแก้ปัญหาการสูบบุหรี่อย่างตรงจุดและบรรลุผล อย่างมีประสิทธิภาพ


 


An Econometric Analysis of Smoking and Health: Evidence from Thailand


Narumon Changlonrat and Pinit Duangchinda


Smoking situation in Thailand is a serious social problem. Guidelines for the implementation of the solution in the past have focused on policy. An understanding of cigarette smoking behavior and smoking factors thus there are important implications for intervention policies. The object of the study is socio factors and smoking behavior influences on smoke disease. The paper used secondary data from all 76 provinces. Econometric method employs multiple regressions using ordinary least square estimation not only a whole country but also regions. An empirical result showed that cause of lung cancer, heart disease and chronic obstructive pulmonary disease have difference between a whole country, regions and each region. The difference diseases caused by smoking depend on pervious health care, social and economic structure in each region. Therefore, appropriate procedures or policies that could position to the characteristics and problems in each area in order to solve the problem of smoking at that point and effectively achieve results.

Article Details

How to Cite
จังโหลนราช น., & ดวงจินดา พ. (2015). An Econometric Analysis of Smoking and Health: Evidence from Thailand. Parichart Journal, 27(3), 176–190. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/parichartjournal/article/view/43145
Section
Academic Article