การรับรู้ความไตรกรสวนยางในภาคใต้ของประเทศไทย

Main Article Content

Onanong Longpichai
Chaiya Kongmanee

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อจัดแบ่งประเภทครัวเรือนเกษตรกรสวนยาง ศึกษาการรับรู้ความเสี่ยงของครัวเรือนเกษตรกรสวนยางแต่ละประเภท และวิเคราะห์ประเภทแหล่งกำเนิดความเสี่ยงของเกษตรกรสวนยาง โดยการเก็บข้อมูลเกษตรกร กลุ่มตัวอย่าง 400 ตัวอย่างโดยใช้แบบสอบถามเชิงโครงสร้าง และวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้สถิติเชิงพรรณนา และการวิเคราะห์องค์ประกอบ ผลการศึกษาพบว่า ครัวเรือนเกษตรกรถูกจัดแบ่งออกเป็น 5 ประเภท คือ ฟาร์มสวนยางขนาดเล็ก ฟาร์มธุรกิจสวนยางขนาดกลาง ฟาร์มเจ้าของที่ดินสวนยางขนาดเล็ก ฟาร์มสวนยางขนาดเล็กมาก และฟาร์มสวนยางขนาดเล็กที่มีระบบเกษตรหลากหลาย ผลศึกษาการรับรู้ความเสี่ยงของครัวเรือนเกษตรกรแต่ละประเภทพบว่า ในภาพรวมความเสี่ยงจากการลดลงของราคายางเป็นความเสี่ยงที่สำคัญของทุกประเภทฟาร์ม ยกเว้นฟาร์มธุรกิจสวนยางขนาดกลางที่ให้ความสำคัญกับความเสี่ยงจากการใช้พันธุ์ยาง RRIM 600 ส่วนผลการวิเคราะห์ประเภทแหล่งกำเนิด ความเสี่ยงของเกษตรกรแบ่งออกได้เป็น 9 ประเภท ได้แก่ ความเสี่ยง ด้านภูมิอากาศและภัยธรรมชาติ การเงิน นโยบายและการเมือง ตลาด ครัวเรือน แรงงาน เทคนิคการผลิต ที่ดิน และราคา

Article Details

How to Cite
Longpichai, O., & Kongmanee, C. (2019). การรับรู้ความไตรกรสวนยางในภาคใต้ของประเทศไทย. วารสารปาริชาต, 32(2), 134–146. สืบค้น จาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/parichartjournal/article/view/138003
บท
บทความวิจัย

References

[1] Department of Agricultural Extension. (2017). Crop production annual summary report (RT.02) 2016. Retrieved from https://www.production.doae.go.th/report/report_ main2. php?report_type=2.

[2] Rubber Research Institute of Thailand. (2015). Thai rubber statics. Retrieved on March 10, 2015, from https://www.rubberthai.com/statistic/stat_index.htm.

[3] Rubber Research Institute of Thailand. (2012). Rubber technique information 2012. Bangkok: AgriculturalCooperative Group of Thailand.

[4] Kongmanee, C. (2015). Path dependence of agrarian change: An institutional economic analysis of the rubber economy in southern Thailand (doctoral dissertation). Montpellier SupAgro. France.

[5] Kaplan, S., & Garrick B. (1981). On the quantitative definition of risk. Risk Analysis, 1(1), 11-27).

[6] FAO. (2008). Farm management extension guide. Rome, FAO.

[7] OECD. (2013). Smallholder risk management in developing countries. Paris, OECD.

[8] OECD. (2009). Managing risks in agriculture: a holistic approach. Paris, OECD.

[9] Aldenderfer, M. S., & Blashfield, R. K. (1984). Cluster analysis. Newbury Park CA: Sage. (cited in page/line: 5/18)

[10] Haire, J. F. (2006). Multivariate data analysis (6th ed). New Jersey: Pearson Prentice Hall.