ทัศนคติของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนการสอนรายวิชาดนตรีเพื่อคุณภาพชีวิต สาขาวิชาดุริยางคศาสตร์สากล มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา

Main Article Content

รัตติกาล แสงไทย
โกวิทย์ ขันธศิริ

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ศึกษาทัศนคติของนิสิตที่มีต่อรายวิชาดนตรีเพื่อคุณภาพชีวิตสาขาดุริยางคศาสตร์สากล มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลาด้านหลักสูตร ด้านกิจกรรมการเรียนการสอน  ด้านอาจารย์ผู้สอน และด้านการวัดประเมินผลกลุ่มตัวอย่างที่ใช้ในการวิจัย คือ นิสิตที่เลือกเรียนรายวิชาดนตรีเพื่อคุณภาพชีวิตในเครื่องมือเปียโน สาขาวิชาดุริยางคศาสตร์สากล คณะศิลปกรรมศาสตร์ จำนวน 146 คน เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล ได้แก่ แบบสอบถามมาตรประมาณค่า 5 ระดับและแบบตรวจสอบรายการ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูลได้แก่ ค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน พบว่าทัศนคติของนิสิตที่มีต่อรายวิชาดนตรีเพื่อคุณภาพชีวิตสาขาดุริยางคศาสตร์ สากลมหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลาในภาพรวมอยู่ในระดับดีมาก (gif.latex?\bar{X}= 4.08) เมื่อพิจารณาเป็นรายด้าน พบว่า ด้านอาจารย์ผู้สอนอยู่ในระดับมากที่สุด มีค่าเฉลี่ยสูงสุด (gif.latex?\bar{X}= 4.21) รองลงมา ได้แก่ ด้านการวัดและประเมินผล (gif.latex?\bar{X}= 4.15) ด้านหลักสูตร (gif.latex?\bar{X} = 4.14) และด้านการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน มีค่าเฉลี่ยต่ำที่สุด (gif.latex?\bar{X} = 3.81)

Article Details

How to Cite
แสงไทย ร., & ขันธศิริ โ. (2019). ทัศนคติของนักศึกษาที่มีต่อการเรียนการสอนรายวิชาดนตรีเพื่อคุณภาพชีวิต สาขาวิชาดุริยางคศาสตร์สากล มหาวิทยาลัยทักษิณ วิทยาเขตสงขลา. วารสารปาริชาต, 32(2), 168–175. สืบค้น จาก https://so05.tci-thaijo.org/index.php/parichartjournal/article/view/156089
บท
บทความวิจัย

References

[1] Nateephat, W. (2009). Factors influencing consumers decision making behavior to wordmusic school in Bangkok Metropolitan Area. Master Project, Master of Business Administration degree in Management. Bangkok: Graduate School, Srinakharinwirot University. (In Thai)

[2] Sutham, A. (2000). Forms and forms and higher education missions. Bangkok : Office of The Basic Education Commission. (In Thai)

[3] Kriengsak, C. (2000). The philosopher : synthesize, analyze and apply the concept of education and development. Bangkok : Darnsutha. (In Thai)

[4] Chira, H. (2010). Human capital in bureaucratic system, human capital seminar in bureaucratic system. Sukhumnaipradit Auditorium. May 26, 2010. Nonthaburi: Office of the Civil Service Commission Nonthaburi. (In Thai)

[5] Thaksin University. (2012). Department of Music Thaksin University. Retrieved on January 20, 2012. From https://art.tsu.ac.th. (In Thai)

[6] Fu, H. C. ( 2007). A status and vision investigation of us university piano pedagogy programs. Doctor of Philosophy Music Education. Texas: University Of North Texas.

[7] Akachai, T. (2014). Piano pedagogy of Associate Professor Albert Tiu at Yong Siew Toh Conservatory of Music, National University of Singapore. A Thesis of Master of Fine and Applied Arts, Mahasarakham: Mahasarakham University. (In Thai)

[8] Schons, S. M. (2005) . Piano teachers’ attitudes about piano pedagogy course topics. Doctor of Philosophy Music Education. Oklahoma: University of Oklahoma.

[9] Natee, C. (2007). Synthesis of research in music edcation: meta-analysis and content analysis. A Thesis of the Degree of Master of Education Program in Educational Research. Bangkok: Chulalongkorn University. (In Thai)