การพัฒนารูปแบบการเรียนการสอนผ่านเว็บตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองเพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยตลาดวิชา
Main Article Content
บทคัดย่อ
ผลการวิจัย พบว่า รูปแบบการเรียนการสอนผ่านเว็บตามทฤษฎีการสร้างความรู้ด้วยตนเองเพื่อ ส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยตลาดวิชา ประกอบด้วย 9 องค์ประกอบ ได้แก่ (1) ปัญหาและความจำเป็น (2) เป้าหมายและวัตถุประสงค์การเรียนรู้ (3) เนื้อหา (4) ผู้เรียน (5) ภาระงาน (6) สภาพแวดล้อมการเรียนรู้ (7) วิธีจัดการเรียนรู้ (8) การปฏิสัมพันธ์ และ (9) การประเมินผล และได้รับการ รับรองความเหมาะสมของรูปแบบดังกล่าวอยู่ในระดับมากที่สุด จากผู้ทรงคุณวุฒิ จำนวน 12 ท่าน คิดเป็น ค่าเฉลี่ยเท่ากับ 4.68
THE DEVELOPMENT OF CONSTRUCTIVIST THEORY WEB-BASED INSTRUCTION MODEL TO FOSTER ANALYTICAL THINKING OF OPEN ADMISSION UNIVERSITY
The Open University is an open education system management that is open to an unlimited number of students focusing on self-learning. There are 2 models of instruction including the instruction that has classroom arranged by the institution, mostly a large classroom provided for a large number of students, and the second model is the distance learning that the students study from materials provided by the institution for self-learning like Ramkhamhaeng University which is the only Open University in Thailand for instance. This article presents the result of the development of Constructivist theory Web-based instruction model to foster analytical thinking of open admission university with the object to develop the constructivist theory web-based instruction model to foster analytical thinking of Open Admission University and to evaluate the constructivist theory web-based instruction model to foster analytical thinking of Open Admission University.
The result reveals that the constructivist theory web-based instruction model to foster analytical thinking of Open Admission University is consist of 9 elements including (1) difficulties and necessity, (2) learning objective and purpose, (3) contents, (4) students, (5) responsibilities, (6) learning environment, (7) learning management, (8) interaction, and (9) evaluation that is accredited as the most appropriate model by 12 experts with an average of 4.68.
Article Details
บทความวิชาการ บทความวิจัย และบทวิจารณ์หนังสือในวารสารดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์ เป็นความคิดเห็นของผู้เขียน มิใช่ของคณะผู้จัดทำ และมิใช่ความรับผิดชอบของสมาคมปรัชญาดุษฎีบัณฑิตทางสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง (กรณีการทำวิจัยในมนุษย์ ผู้วิจัยต้องผ่านการอบรมจริยธรรมการวิจัยในมนุษย์ และนำหลักฐานมาแสดง)