ปัจจัยขับเคลื่อนที่มีอิทธิพลต่อการเทียบเคียงสมรรถนะของอุตสาหกรรมยางพาราไทย
Main Article Content
Abstract
ผู้วิจัยใช้ทั้งการวิจัยเชิงคุณภาพและการวิจัยเชิงปริมาณ สำหรับการวิจัยเชิงคุณภาพเป็นการ สัมภาษณ์เจาะลึกกับบริษัทที่ดำเนินธุรกิจในอุตสาหกรรมยางพาราไทย ส่วนการวิจัยเชิงปริมาณ ใช้แบบสอบถาม จากบริษัทที่ดำเนินธุรกิจในอุตสาหกรรมยางพาราไทยจำนวน 315 บริษัท สถิติที่ ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ การหาค่าความถี่ การหาค่าร้อยละ การหาค่าเฉลี่ย การหาค่าส่วน เบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ถดถอยพหุ ผลการวิจัย พบว่า 1) ปัจจัยขับเคลื่อนการเทียบ เคียงสมรรถนะด้านการมีส่วนร่วมของพนักงาน การเป็นไปในแนวทางเดียวกับกลยุทธ์ขององค์การ การมีกระบวนการที่เป็นทางการ และการเปิดกว้างต่อการเปลี่ยนแปลง มีอิทธิพลทางบวกต่อการเทียบเคียง สมรรถนะภายในของผู้ประกอบการธุรกิจในอุตสาหกรรมยางพาราไทย 2) ปัจจัยขับเคลื่อนการเทียบเคียง สมรรถนะด้านการเป็นไปในแนวทางเดียวกับกลยุทธ์ขององค์การ การมีกระบวนการที่เป็นทางการ และ การเปิดกว้างต่อการเปลี่ยนแปลงที่มีอิทธิพลทางบวกต่อการเทียบเคียงสมรรถนะกับคู่แข่งของผู้ประกอบ การธุรกิจในอุตสาหกรรมยางพาราไทย 3) ปัจจัยขับเคลื่อนการเทียบเคียงสมรรถนะด้านการมีส่วนร่วมของ พนักงาน การเป็นไปในแนวทางเดียวกับกลยุทธ์ขององค์การ และการเปิดกว้างต่อการเปลี่ยนแปลง มีอิทธิพล ทางบวกต่อการเทียบเคียงสมรรถนะกับอุตสาหกรรมของผู้ประกอบการธุรกิจในอุตสาหกรรมยางพาราไทย 4) ปัจจัยขับเคลื่อนการเทียบเคียงสมรรถนะด้านการมีส่วนร่วมของพนักงาน และการมีกระบวนการที่เป็น ทางการ มีอิทธิพลทางบวกต่อการเทียบเคียงสมรรถนะโดยทั่วไปของผู้ประกอบการธุรกิจในอุตสาหกรรม ยางพาราไทย
THE INFLUENCE OF BENCHMARKING DRIVERS ON BENCHMARKING IN THE THAI RUBBER INDUSTRY
In this research concerning “The Influence of Benchmarking Drivers on Benchmarking in the Thai Rubber Industry,” the researchers investigate factors influencing benchmarking by entrepreneurs in the Thai rubber industry. These factors consist of employee participation, strategic alignment, formal process, and being open to change. Benchmarking are consisted of four types, internal benchmarking, competitive benchmarking, industry benchmarking and generic benchmarking.
The researchers employed both qualitative and quantitative research methods. In respect to qualitative research, the researchers used in-depth interviews to confirm the appropriateness of the conceptual framework used to study companies conducting Thai rubber industry businesses and in discussing research findings. Regarding quantitative research, the researcher used a questionnaire as an instrument of research to collect data from 315 companies operating in the Thai rubber industry. The statistics used in data analysis were frequency, mean, standard deviation and multiple regression analysis. Findings are as follows: 1. Benchmarking drivers in the dimension of employee participation, strategic alignment, formal process, and being open to change had positive direct influence on internal benchmarking in the Thai Rubber Industry. 2. Benchmarking drivers in the dimension of strategic alignment, formal process, and being open to change had positive direct influence on competitive benchmarking in the Thai Rubber Industry. 3. Benchmarking drivers in the dimension of employee participation, strategic alignment, and being open to change had positive direct influence on industry benchmarking in the Thai Rubber Industry. Benchmarking drivers in the dimension of employee participation, and formal process had positive direct influence on industry benchmarking in the Thai Rubber Industry.
Article Details
Academic articles, research articles, and book reviews in the Ph.D. in Social Sciences Journal are author’s opinions, and not the publisher’s, and is not the responsibility of the Ph.D. in Social Sciences Journal Philosophy Association, Ramkhamhaeng University. (In the case that research is done on human, the researcher has to be trained in Ethics for Doing Research on Human Training and has to produce the evidence of the training).