กระบวนทัศน์การจัดการความปลอดภัยทางถนน
Main Article Content
Abstract
บทความวิชาการ เรื่อง กระบวนทัศน์การจัดการความปลอดภัยทางถนน เป็นการนำเสนอแนวความคิดเกี่ยวกับการจัดการความปลอดภัยทางถนน ในประเด็นพัฒนาการของกระบวนทัศน์การจัดการความปลอดภัยทางถนน กระบวนทัศน์ทศวรรษความปลอดภัยทางถนนขององค์การสหประชาชาติ และกระบวนทัศน์การจัดการความปลอดภัยทางถนนของไทย เพื่อเป็นแนวทางในการศึกษาทั้งเชิงทฤษฎีและเชิงปฏิบัติเกี่ยวกับการดำเนินงานด้านความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนนของทุกภาคส่วน ทั้งด้านวิศวกรรมยานยนต์ วิศวกรรมการทาง สภาพแวดล้อมสองข้างถนน และพฤติกรรมของผู้ขับขี่ยานพาหนะ จากกระบวนทัศน์การจัดการความปลอดภัยทางถนน ตั้งแต่ศตวรรษที่ 18 เป็นต้นมาจนถึงปัจจุบัน จากกระบวนทัศน์การจัดการความปลอดภัยทางถนนภายในประเทศ ได้ยกระดับกระบวนทัศน์เป็นระดับนานาชาติ โดยเฉพาะการกำหนดกระบวนทัศน์ทศวรรษความปลอดภัยทางถนนขององค์การสหประชาชาติ เพื่อให้ทุกส่วนงานที่เกี่ยวข้องสามารถนำไปปฏิบัติการได้ตลอดระยะเวลา 1 ทศวรรษแห่งความปลอดภัยทางถนน (ค.ศ.2011-2020)
PARADIGM OF ROAD SAFETY MANAGEMENT
Articles about Paradigm of Road Safety Management. This presentation concept of Road Safety Management issues development for Paradigm of Road Safety Management, Paradigm of UN Decade of Action for Road Safety and Paradigm of Road Safety Management in Thailand. To guide the theoretical study and practical. About operational road safety of All sectors include automotive engineering, highway engineering, two roadside environment, and behavior of the vehicle driver. From Paradigm of Road Safety Management since century 18 to the present. From Paradigm of Road Safety Management in Thailand to enhance paradigm of international. Especially determination Paradigm of UN Decade of Action for Road Safety for a parties to implement over 1 decade of road safety (2011-2020)
Article Details
Academic articles, research articles, and book reviews in the Ph.D. in Social Sciences Journal are author’s opinions, and not the publisher’s, and is not the responsibility of the Ph.D. in Social Sciences Journal Philosophy Association, Ramkhamhaeng University. (In the case that research is done on human, the researcher has to be trained in Ethics for Doing Research on Human Training and has to produce the evidence of the training).