การทดสอบโมเดลสมการโครงสร้างความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร และพฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรมของพนักงานองค์กรวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในจังหวัดชายแดนใต้

Main Article Content

ธมยันตี ประยูรพันธ์

Abstract

การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความสอดคล้องโมเดลสมการโครงสร้างความพึงพอใจในการปฏิบัติงานพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร และพฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรมของพนักงานองค์กรวิสาหกิจขนาด การศึกษาครั้งนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อทดสอบความสอดคล้องโมเดลสมการโครงสร้างความพึงพอใจในการปฏิบัติงานพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร และพฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรมของพนักงานองค์กรวิสาหกิจขนาด
กลางและขนาดย่อมในจังหวัดชายแดนใต้ เพื่อศึกษาอิทธิพลของความพึงพอใจในการปฏิบัติงานที่มีต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร เพื่อศึกษาอิทธิพลของพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรที่มีต่อพฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรม 
และเพื่อศึกษาอิทธิพลของพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรเป็นตัวแปรคั่นกลางความสัมพันธ์ระหว่างความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน และพฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรม ทฤษฎีการแลกเปลี่ยนทางสังคมใช้เป็นแนวทางการสร้าง
สมมติฐาน เก็บรวบรวมข้อมูลทางไปรษณีย์กับกลุ่มตัวอย่างพนักงาน จำนวน 502 คน ใน SMEs จำนวน 103 แห่ง ในจังหวัดชายแดนใต้  ผลการศึกษา พบว่า โมเดลสมการโครงสร้างความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรและพฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรมของพนักงาน SMEs ที่พัฒนาขึ้นมีความสอดคล้องกับข้อมูลเชิงประจักษ์ มีค่า
อิสระ(X2/df) = 1.854, IFI = .975, NFI = .948, TLI = .971, CFI = .975, GFI = .928, AGFI = .905 และ RMSEA = .050 ความพึงพอใจในการปฏิบัติงานมีอิทธิพลทางตรงต่อพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 
0.01 และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรมีอิทธิพลทางตรงต่อพฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรม อย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ 0.05 และพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรเป็นตัวแปรคั่นกลางความสัมพันธ์แบบเต็มรูประหว่าง
ความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน และพฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรมของพนักงาน  ผลการวิจัยครั้งนี้มีส่วนช่วยทำให้เข้าใจกระบวนการทางจิตวิทยาในการสร้างพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีของพนักงาน โดยใช้กระบวนทัศน์ของทฤษฎีการ
แลกเปลี่ยนทางสังคม (Blau, 1964) ผลจากการศึกษาครั้งนี้สามารถเป็นแนวทางสำหรับผู้ประกอบการในการพัฒนาพนักงานให้มีพฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรม ที่นำไปสู่องค์กรแห่งนวัตกรรมอย่างยั่งยืน

Article Details

How to Cite
ประยูรพันธ์ ธ. (2018). การทดสอบโมเดลสมการโครงสร้างความพึงพอใจในการปฏิบัติงาน พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กร และพฤติกรรมการทำงานเชิงนวัตกรรมของพนักงานองค์กรวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในจังหวัดชายแดนใต้. Princess of Naradhiwas University Journal of Humanities and Social Sciences, 5(2), 55–73. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/pnuhuso/article/view/115954
Section
Research Article

References

1.กัลยา วานิชย์บัญชา. (2557). การวิเคราะห์สมการ โครงสร้าง (SEM) ด้วย AMOS. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพฯ: สามลดา.

2.กัลยา วานิชย์บัญชา. (2550 ). สถิติสำหรับงานวิจัย. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

3.กาญจนา ปุยอรุณ. (2560). ปลัดกระทรวงอุตสาหกรรม ประชุมรับทราบปัญหาอุปสรรคในการประกอบการ และหารือแนวทาง
การแก้ไขปัญหาด้านต่างฯ เพื่อ นำประเด็นที่ผู้ประกอบการ SME ภาครัฐ ภาคเอกชน ใน 14 จังหวัดภาคใต้ ร่วมเสนอ
ต่อที่ประชุมครม.อย่างเป็นทางการนอกสถานที่ ครั้งที่ 3/2560 ที่ จ.สงขลา ในวันที่ 28 พ.ย. นี้. สืบค้นเมื่อวันที่ 5
กุมภาพันธ์ 2561, จากhttp://thainews.prd.go.th/website_th/news/news_detail/ WNECO6011260010013.

4.จิตตาริน พันเกษม. (2560). สภาฯ นายจ้างชี้ครึ่งปีหลังคนไทยจะตกงานลดลง. สืบค้นเมื่อวันที่ 5 กุมภาพันธ์ 2561,
จาก https://cheechongruay.smartsme.co.th/content/15567.

5.ณัฐวัฒน์ สุขะศิริวัฒน์ และณัฐสิทธิ์ เกิดศรี. (2557). ความท้าทายและข้อจำกัดของการขับเคลื่อนนวัตกรรม สำหรับธุรกิจขนาด
กลางและขนาดย่อมในประเทศไทย. วารสารวิจัยและพัฒนา, 37(1), 119-131.

6.ชญารัศมิ์ ทรัพยรัตน์ และประพันธ์ ชัยกิจอุราใจ. (2556). พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การกับผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น.
วารสารมหาวิทยาลัยฟาร์อีสเทอร์น, 7(1), 7-22.

7.ดนัย เทียนพุฒ. (2551). Innovation Scorecard. สืบค้นเมื่อวันที่ 8 มกราคม 2561, จาก https://www.thekmthailand.
blogspot.com /2008/08 /innovation-scorecard.html.

8.ปกรณ์ ลิ้มโยธิน. (2558). พฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีขององค์การในธุรกิจโรงแรม. วารสารหาดใหญ่วิชาการ, 13(2), 155-165.

9.พนิดา สัตโยภาส, บุญชนิต วิงวอนและบุณฑวรรณ วิงวอน.(2555). ศักยภาพผู้ประกอบการและนวัตกรรมองค์การที่มีอิทธิพล
ต่อความสามารถในการแข่งขันของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมในเขตภาคเหนือตอนบน. การประชุมวิชาการ
วิจัยราไพพรรณ, ครั้งที่ 6 วันที่ 19-20 ธันวาคม 2555.

10.พูลสวัสดิ์ เผ่าประพัธน์. (2556). 3 แนวทางสร้าง องค์กรนวัตกรรม ขับเคลื่อนประเทศไทยสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน. สืบค้นเมื่อ
วันที่ 1 สิงหาคม 2560, จาก http://www.cpthailand.com/รวมคอลมน/tabid/129/articleType/
ArticleView/articleId/1596/3--.aspx.

11.มนตรี พิริยะกุล. (2556). การวิเคราะห์ตัวแบบสมการโครงสร้างชนิด Second order model analytical techniques for
second order SEM. วารสารการจัดการ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏลำปาง, 6(1), 97- 111.

12.มารีนี กอรา และกุลวดี ลิ่มอุสันโน. (2560). ผลกระทบของความเป็นมืออาชีพของนักบัญชีและการบริหารความเสี่ยงที่มีผลต่อ
คุณภาพรายงานการเงินของวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมใน 5 จังหวัดชายแดนใต้. วารสารมหาวิทยาลัย
นราธิวาสราชนครินทร์ สาขามนุษยศาสตร์, 4(2), 38-50.

13.วลัยลักษณ์ รัตนวงศ์. (2557). ปัจจัยเชิงเหตุและผลของนวัตกรรมการบริการสำหรับธุรกิจนำเที่ยวภาคใต้ของประเทศไทย.
ดุษฏีนิพนธ์ หลักสูตรปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

14.วิริณธิ์ ธรรมนารถสกุล. (2544). อิทธิพลของพฤติกรรมการเป็นสมาชิกที่ดีต่อองค์การต่อผลการปฏิบัติงานของพยาบาลวิชาชีพ:ศึกษาอิทธิพลทางตรงอิทธิพลคั้นกลางและอิทธิพลสอดแทรก. วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฏีบัณฑิต สาขาพฤติกรรมศาสตร์
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทร์วิโรฒประสานมิตร.

15.ศิวะนันท์ ศิวพิทักษ์. (2554). การจัดการนวัตกรรมขององค์การธุรกิจที่มีผลต่อพฤติกรรมการสร้างสรรค์นวัตกรรมของพนักงาน.
ดุษฏีนิพนธ์ หลักสูตรบริหารดุษฏีบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

16.สเุนตรตรา จนั ทบรุ .ี (2559). โอกาสและความสามารถในการแขง่ ขนั ของธรุ กจิ สปาและนวดแผนไทย.วารสารเกษมบณั ฑติ , 17(2), 1-15.

17.สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม. (2560). บทสรุปผู้บริหาร รายงานสถานการณ์วิสาหกิจขนาดกลางเเละ
ขนาดย่อมปี 2560. กรุงเทพฯ: สำนักงานส่งเสริมวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม.

18.สำนักงานพาณิชย์จังหวัดนราธิวาส. (2560). สรุปฐานข้อมูลวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม จังหวัดนราธิวาส ปี พ.ศ. 2560.นราธิวาส: สำนักงานพาณิชย์จังหวัดนราธิวาส.

19.สำนักงานพาณิชย์จังหวัดจังหวัดปัตตานี . (2560). สรุปฐานข้อมูลวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม จังหวัดปัตตานี ปี พ.ศ. 2560.ปัตตานี: สำนักงานพาณิชย์จังหวัดจังหวัดปัตตานี .

20.สำนักงานพาณิชย์จังหวัดจังหวัดยะลา. (2560). สรุปฐานข้อมูลวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม จังหวัดยะลา ปี พ.ศ. 2560.ยะลา: สำนักงานพาณิชย์จังหวัดจังหวัดยะลา.

21.สำนักงานสถิติแห่งชาติ. (2555). สรุปผลข้อมูลเบื้องต้นสำมะโนธุรกิจและอุตสาหกรรม พ.ศ. 2555: ทั่วราชอาณาจักร (การนับจด:การเก็บรวบรวมข้อมูลพื้นฐาน).สืบค้นเมื่อวันที่ 18 มกรคม 2561, จาก http://service.nso.go.th/nso/
nsopublish/census/files/prelimi_whole.pdf.

22.สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. (2560). สรุปผลการสำรวจภาวะการทำงานของประชากร
(เดือนมกราคม พ.ศ. 2560). กรุงเทพฯ: สำนักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม.

23.สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2558). นวัตกรรม: ก้าวใหม่ SMEs สู่ธุรกิจยั่งยืน. สืบค้นเมื่อวันที่ 18
มกรคม 2561, จาก http://www.parliament.go.th/library.

24.อภิสิทธ์ ประวัติเมือง. (2544). รูปแบบความสัมพันธ์และการสร้างสมการทำนายของกลยุทธ์ในการดำเนินธุรกิจและภูมิความรู้ความชำนาญที่มีต่อความสำเร็จของผู้ประกอบการธุรกิจขนาดย่อมในธุรกิจร้านหนังสือ.วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตร
มหาบัณฑิต สาขาจิตวิทยาอุตสาหกรรมและองค์การ คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

25.อรพรรณ จนั ทรอ์ นิ ทร,์ จนั ทริ า ภมู า, ปรชี ญา ชมุ ศร,ี สทุ ธยา สมสขุ , สวุ ภทั ร อำ พนั สขุ โข, ชาญวทิ ย ์ จนั ทรอ์ นิ ทร,์ และภาณพุ ร

26.เต็มพระสิริ. (2558). แนวทางการพัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการธุรกิจขนาดกลางและขนาดย่อมบริเวณชายแดน
ไทย-มาเลเซีย เพื่อความได้เปรียบทางการแข่งขันของจังหวัดสงขลา ประเทศไทย. รายงานวิจัย คณะบริหารธุรกิจ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลศรีวิชัย.

27.Bateman,T.S. &Organ,D.W. (1983). Job satisfaction and the good soldier: The relationship between affect
and employee citizenship. Journal of Academy of Management, 26(1), 587-595.

28.Blau, P. M. (1964). Exchange and Power in Social Life. New York: Wiley.

29.Brislin, R.W. (1970). Back-translation for cross-cultural research. Journal of Cross Cultural Psychology,
1(3), 185-216.

30.Cohen-Charash, Y. & Spector, P. E. (2001). The role of justice in organizations: A meta-analysis. Journal of
Organizational Behavior and Human Decision Processes, 86(2), 278-321.

31.Danaei, A. & Iranbakhsh,F. (2016). Key drivers of innovative behavior in hotel industry: evidence from a
developing country. Iranian Journal of Management Studies (IJMS), 9(3), 599-625.

32.Fornell, C. & Larcker, D. F. (1981). Evalluating Structural models with unobservable variable and
measurement error. Journal of Marketing Research, 18(1), 39-50.

33.Hair, J.F., Black, W.C., Babin, B.J. & Anderson, R.E. (2010). Multivariate Data Analysis. (7th ed.). Pearson:
New York.

34.Hair J.F., Black W.C., Babin B.J., Anderson R.E. & Tatham R.L. (2006). Multivariate data analysis. (6th ed.).
Pearson Prentice Hall: New Jersey..

35.Hooper, D., Coughlan, J. & Mullen, M. R. (2008). Structural equation modeling: guidelines for determining
model fit. Journal of Business Research, 6(1), 53-60.

36.Janssen, O. (2000). Job demands, perceptions of effort-reward fairness and innovative work behavior.
Journal of Occupational and organizational psychology, 73(3), 287-302.

37.Joreskog, K. & Sorbom, D. (1993). LISREL 8: Structural equation modeling with the SIMPLIS command
language. Chicago, IL: Scientific Software International Inc.

38.Kesen,M. (2016). Linking organizational identification with individual creativity: Organizational citizenship
behavior as a mediator. Journal of Yasar University, 11(41), 56-66.

39.Kline, R. B. (2010). Principles and practice of structural equation modeling (3rd ed.). New York, NY: Guilford Press.

40.Krejcie, R.V. & Morgan, D.W. (1970). Determining sample size for research activities. Journal of Educational
and Psychological Measurement, 30(3), 607-610.

41.Maas, C. J. M. & Hox, J. J. (2005). Sufficient sample sizes for multilevel modeling. Journal of Methodology,
1(3), 86-92.

42.Mohammad, J., Habib, Q. F. & Alias, A.M. (2011). Job satisfaction and organizational citizenship behavior:
an empirical study at higher learning institutions. Journal of Asian Academy of Management,
16(2), 149-165.

43.Mohd,k.H., Juhary,A. & Dzulhilmi,A.F. (2005). Relationship between human resource practices and
innovation activity in Malaysia SMEs. Journal Management & Businis Sriwijaya, 3(6), 1-2.

44.Moon, H., Dyne,L.V. & Wrobel,K. (2004). The circumplex model and the future of organizational citizenship
behavior research. In D. L. Turnipseed (Ed.). Handbook of organizational citizenship behavior
(pp.1-22). New York: Nova Science Publishers.

45.Nielsen, T. M., Hrivnak Jr., G. A. & Shaw, M. (2009). Organizational citizenship behaviour and performance:
A meta-analysis of group-level research. Journal of Small Group Research, 40(5), 555-577.

46.Nunally, J. C. (1978). Psychometric theory (2nd ed.). New York: McGraw-Hill.Pugh,D. & Dietz,J. (2008).
Employee engagement at the organizational level of analysis. Journal of Industrial and
Organizational Psychology, 1(2008), 44-47.

47.Organ, D. W. (1988). Organizational citizenship behavior: The good soldier syndrome. Lexington, MA:
Lexington Books.

48.Podsakoff, P. M., MacKenzie, S. B., Moorman, R. H. & Fetter, R. (1990). Transformational leader behaviors and
their effects on followers'trust in leader, satisfaction, and organizational citizenship behaviors.
Journal of Leadership Quarterly, 1(2), 107-142.

49.Pugh, S.D. & Dietz, J. (2008). Employee engagement at the organizational level of analysis. Journal of
Industrial and Organisational Psychology, 1(01), 44-47.

50.Prasetio, R. (2015). The effect of burnout towards organizational citizenship behaviour, mediated by job
satsifaction in XYZ company, Surabaya. Journal of iBuss Management, 3(2), 374-382.

51.Rahman,U., Sulaiman,W.S.W., Nasir, R. & Omar,F. (2013). Analyzing the construct validity of organizational
citizenship behavior scale using confirmatory factor analysis with Indonesian samples. Journal of
Asian Social Science, 9(13), 85-91.

52.Rhoades,L. & Eisenberger,R. (2002). Perceived organizational support: A review of the literature. Journal of
Applied Psychology, 87(4), 698-714.

53.Schanke, M. & Dumler, M.P. (1997). Organizational citizenship behavior: The impact of rewards and reward
practice. Journal of Managerial, 9(summer 1997),216-229.

54.Taylor, J. C. & Bowers, D. G. (1974). Survey of organizations. Ann Arbor: University of Michigan, Institute for
Social Research.

55.Thailand Creative & Design Center. (2017). Trend2018 into the future individual and together with the new
state of mind. สืบค้นเมื่อวันที่ 18 มกรคม 2560, จาก https://web.tcdc.or.th/media/publication_lang_file /
166 /TREND2018-eBook-PC-SinglePage.pdf.

56.Tumwesigye, G. (2010). The Relationship between perceived organizational support and turnover intentions
in a developing country: The mediating role of organizational commitment. Journal of African
Business Management, 4(6), 942-952.