การพัฒนารูปแบบการสอนวิชาสันติศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้

Main Article Content

ศิริกัญญา แก่นทอง

Abstract

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการสอนวิชาสันติศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2) ทดลองใช้รูปการสอนสันติศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้และ 3) ประเมิน การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) พัฒนารูปแบบการสอนวิชาสันติศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้ 2) ทดลองใช้รูปการสอนสันติศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้และ 3) ประเมิน
คุณภาพรูปการสอนสันติศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้  จากผลการวิจัยพบว่า 1. รูปแบบหลักสูตรสันติศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้มีองค์ประกอบสำคัญ 3 องค์ประกอบ  ได้แก่ 1) เนื้อหาการสอน ประกอบด้วย วัตถุประสงค์/จุดมุ่งหมาย วิธีสอนและการจัดกิจกรรม
ขั้นตอน 2) สื่อและอุปกรณ์การสอนสันติศึกษา และ 3) กระบวนการจัดการเรียนการสอน ประกอบด้วย 5 ขั้นคือ การรับรู้  การตอบสนอง การเห็นคุณค่า การจัดระบบ และการสร้างลักษณะนิสัย การวัดและประเมินผล 2. ผลการทดลองใช้รูปแบบการ
เรียนการสอน พบว่า 1) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .01 2) เจตคติหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ .012 3) มีความสามารถจัดการความขัดแย้งอยู่ในระดับปานกลาง 3) 
มีความพึงพอใจต่อรูปแบบการสอนระดับมาก 3. ผลการประเมินคุณภาพรูปแบบการเรียนการสอน พบว่า 1) รูปแบบการสอนมีคุณภาพเป็นไปตามเกณฑ์ที่กำหนด 2) มีความเหมาะสมและความเป็นไปได้ในการนำไปใช้ในสถานการณ์จริง 

Article Details

How to Cite
แก่นทอง ศ. (2018). การพัฒนารูปแบบการสอนวิชาสันติศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาในสามจังหวัดชายแดนภาคใต้. Princess of Naradhiwas University Journal of Humanities and Social Sciences, 5(2), 12–25. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/pnuhuso/article/view/122394
Section
Research Article

References

1.กระทรวงศึกษาธิการ. (2560). แผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564). สำนักนโยบาย
และยุทธศาสตร์ สำนักงานปลัดกระทรวงศึกษาธิการ กระทรวงศึกษาธิการ.www.bps.sueksa.go.th.

2.กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551.กรุงเทพฯ: ชุมนุมสหกรณ์
การเกษตร แห่งประเทศไทย.

3.ไชยา ภาวะบตุร. (2549). ข้อเสนอเชิงนโยบายเพื่อการพัฒนาการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษามหาวิทยาลัยราชภัฏ
สกลนคร. วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษาบัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยขอนแก่น.

4.ทิศนา แขมมณี. (2560). ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. (พิมพ์ครั้งที่ 21).
กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

5.พระมหาหรรษา ธมฺมหาโส (นิธิบุณยากร). (2547). พุทธสันติวิธี: ศึกษาวิเคราะห์กรณีลุ่มนํ้าแม่ตาช้างจังหวัดเชียงใหม่.
วิทยานิพนธ์ปรัชญาพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพระพุทธศาสนา กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย.

6.โยฮัน กัลตุง. (2538). พุทธสันติวิธี ทฤษฎีเชิงโครงสร้าง. แปล โดย สมชัย เย็นสบาย, สุวรรณา สถาอานันท์ และสายพิณ
ศุพุทธมงคล. กรุงเทพฯ: ปาจารยสาร.

7.รสสุคนธ์ แสงมณี. (2554). การพัฒนาหลักสูตรกลุ่มวิชาในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปเพื่อความเข้าใจอันดีสำ�หรับสถาบันอุดมศึกษาในจังหวัดชายแดนภาคใต้.วิทยานิพนธ์การศึกษาดุษฎีนิพนธ์ สาขาวิชาศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

8.ศิริขวัญ ชิณศรี. (2555). สภาพปัญหาการบูรณาการสันติศึกษาในหลักสูตรสถานศึกษาของโรงเรียนในพื้นที่จังหวัดชายแดนใต้.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิตสาขาวิชาการสอนสังคมศึกษา. คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

9.สมิทธิรักษ์ จันทรักษ์. (2557).การพัฒนารูปแบบการสอนสันติศึกษาในสถาบันอุดมศึกษาไทย. วิทยานิพนธ์ปริญญา
ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาพัฒนศึกษา บัณฑิตวิทยาลัยมหาวิทยาลัยศิลปากร.

10.สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา. (2551). กรอบแผนอุดมศึกษาระยะยาว 15 ปี ฉบับที่ 2 (พ.ศ.2551-2565.)
กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

11.สำนักงานสภาความมั่นคงแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2560). นโยบายการบริหารและการพัฒนาจังหวัดชายแดนภาคใต้
พ.ศ.2560-2562. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

12.สำนักนายกรัฐมนตรี. (2548). หนังสือของสำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี ที่นร 0504/18022. สำนักนายกรัฐมนตรี.

13.สุชาติ เศรษฐมาลินี. (2559). จินตนาการอิสลามเชิงสังคมวิทยา : สันติภาพ ครอบครัวและสตรี. ปัตตานี: ปาตานีฟอรั่ม.

14.เสริมศักดิ์ วิศาลาภรณ์. (2552). สภาพการจัดการศึกษาในจังหวัดชายแดนใต้. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพฯ: ห้างหุ้นส่วน
จำกัด วี.ที.ซี. คอมมิวนิเคชั่น.

15.Arends, J.W. (1997). Cooperative Learning Making Groupwork.New Directions for Teaching and Learning.
San Francisco: Jossey-Bass Publishers.

16.Barnum, C., & Paarmann, W. (2002).Bringing induction to the teacher.A Blended learning model.
The Journal, 30(2), 56-64.

17.Carman, J. M. (2005). Blended Learning Design:5 Key Ingredients. Retrieved from Agilant Learning.from
https://www.agilantlearning.com/pdf/Blended%20. Learning%20Design.pdf

18.Driscoll, M. (2002). Blended Learning: Let's Get Beyond the Hype. Retrieved from IBM United States.
https://www-07.ibm.com/services/pdf/blended_learning.pdf.

19.Eisner, E. (1976). Education Connoisseurship and Criticism : Their From and Functions in Educational
Evaluation. Journal of Aesthetic Education, 10(1976), 150-151.

20.Garnham, C., & Kaleta, R. (2002).Introduction to Hybrid Courses.Teaching with Technology Today, 8(6).

21.Joyce, B., & Weils, M. (1996).Models of Teaching (3rd ed). Boston: Allyn & Bacon.

22.Kotler, P & Fox, K. (1995) Strategic Marketing for educational institution. (2nded). New Jersey: Prentice Hall

23.Meltzer, L. & Montague, M. (2001). Strategies learning in students with learning disabilities: What
travel we learned. In B. Keogh 7D. Halloran (Ed.) Research and global perspectives in learning
disabilities: Essays in honor of William.

24.Morris, C. (2004). Managing Conflict in Health Care Settings: Principles, Practice & Policies.
Nonthaburi King Prajadhipok's Insitute.

25.Onthanee, A., Kaewurai, W., Wattanathorn A., and Phachanban, P. (2009). The development of the
instructional model to enhance learning facilitators competence based on knowledge management
approach for teacher students. Journal of Education Naresuan University, 11(special), 33-52. (in Thai)

26.Perkins, A. (1973). Organization and Function of the University as an Organization. New York: Megraw-Hill.

27.Singh, H. (2003). Building Effective Blended Learning Programs. Educational Technology, 43(6), 51-54.

28.Stufflebeam, D. L. (Ed.) (2001).Evaluation models (New Directions for Evaluation, No.89). San Francisco, CA:
Jossey-Bass.