ประสิทธิภาพการดำเนินงานหลักสูตรอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ความพร้อมด้านทักษะวิชาชีพตามมาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี (IES3) ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขางานการบัญชี
Main Article Content
Abstract
การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพการดำเนินงานหลักสูตรอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี และความพร้อมด้านทักษะวิชาชีพตามมาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศ สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี การศึกษานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ ทดสอบความสัมพันธ์ระหว่างประสิทธิภาพการดำเนินงานหลักสูตรอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี และความพร้อมด้านทักษะวิชาชีพตามมาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศ สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
(IES3) ของนักศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพชั้นสูง สาขางานการบัญชี สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา จำนวน 357 คน โดยใช้แบบสอบถามความคิดเห็นของผู้สอนสาขางานการบัญชี หลักสูตรอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ของ
วิทยาลัยในสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ผลการศึกษาพบว่า ครูผู้สอนสาขางานการบัญชี มีความเห็นว่าประสิทธิภาพการดำเนินงานหลักสูตรอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี และความพร้อมด้านทักษะวิชาชีพตามมาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศ สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
(IES3) อยู่ในระดับมาก นอกจากนี้ยังพบว่า ปัจจัยด้านสมรรถนะหลักและสมรรถนะทั่วไป ด้านสมรรถนะวิชาชีพ และด้านความสำเร็จในการประกอบวิชาชีพ มีความสัมพันธ์เชิงบวกกับความพร้อมด้านทักษะทางวิชาชีพ ผลที่ได้จากการศึกษาครั้ง
นี้สามารถเป็นแนวทางในการพัฒนาและปรับปรุงประสิทธิภาพการดำเนินงานหลักสูตรอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี ให้มีความพร้อมในทุกด้าน ตามมาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศสำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี
Article Details
References
หน่วยงานรัฐและองค์กรวิชาชีพ. สารนิพนธ์บัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.
2.ต่อลาภ สุขพันธ์. (2546). คุณสมบัติของนักบัญชีที่พึงประสงค์ของสถานประกอบการในจังหวัดลำปาง. การค้นคว้าอิสระ
บัญชีมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.
3.นงคราญ ช่างสาน และมัทนชัย สุทธิพันธุ์. (2557). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อความพร้อมของครูบัญชีในอาชีวศึกษา กับการเข้าสู่
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. วารสารศึกษาศาสตร์ปริทัศน์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, 30(3), 24-34.
4.เบญจรัตน์ ราชฉวาง, ปิยะ กรกชจินตนาการ และสิริชัย นัยกองศิริ. (2558). การประเมินผลการดำเนินงานตามรูปแบบการ
จัดการเรียนการสอนเพื่อสร้างผู้เรียนให้มีคุณลักษณะที่สอดคล้องกับ ความต้องการของสถานประกอบการ. วารสาร
ศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาสารคาม, 9(พิเศษ), 322-337.
5.ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง กรอบมาตรฐานคุณวุฒิอาชีวศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2556. (18 กุมภาพันธ์ 2556).
ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 130/ตอนพิเศษ 23 ง. หน้า 31-32.
6.ปุณยาพร แสงทอง. (2554). การศึกษาความพึงพอใจของผู้ประกอบการต่อการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษาระบบทวิภาคี
ของวิทยาลัยเทคนิคชุมพร. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา.
7.ผกามาศ ชัชวาลย์. (2550). ความคิดเห็นต่อผลสัมฤทธิ์การบริหารจัดการศึกษาระบบทวิภาคี สาขาการโรงแรม กรณีศึกษา
วิทยาลัยบริหารธุรกิจและการท่องเที่ยวกรุงเทพฯ สังกัดสำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ. วิทยานิพนธ์รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนคร.
8.พระราชบัญญัติการอาชีวศึกษา พ.ศ. 2551. (26 กุมภาพันธ์ 2551). ราชกิจจานุเบกษา. เล่ม 125 ตอนที่ 43 ก. หน้า 3.
9.พิทยา ชินะจิตพันธุ์, สบสันติ์ อุตกฤษฏ์ และชนะ กสิภาร์. (2555). รูปแบบการพัฒนาการจัดการเรียนการสอนอาชีวศึกษา
ระบบทวิภาคีสาขาช่างอุตสาหกรรม. วารสารวิชาการพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, 22(1), 180-190.
10.พิมนศิลป์ ทัพนันตกุล. (2552). ประสิทธิผลของการจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของสถานศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัด
นครศรีธรรมราช. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยราชภัฏนครศรีธรรมราช.
11.เพ็ชราภรณ์ ชัชวาลชาญชนกิจ. (2557). การศึกษาการดำเนินการจัดอาชีวศึกษาระบบทวิภาคีของสถานศึกษาเอกชนใน
ประเทศไทย. วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
วิทยาเขตชุมพรเขตอุดมศักดิ์.
12.รจนา ขุนแก้ว และ มัทนชัย สุทธิพันธุ์. (2557). ความพร้อมของนักศึกษาสาขาการบัญชีในมหาวิทยาลัยในจังหวัดสงขลา
สู่ความเป็นประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, 32(1), 37-63.
13.ลัดดาวัลย์ หมวกพิมาย. (2555). การจัดการเรียนการสอนแบบทวิภาคี กับการเรียนรู้ตามคุณลักษณะแรงงานระดับอาชีวศึกษา
ของสถาบันอาชีวศึกษาเอกชน ในจังหวัดกรุงเทพมหานคร. ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต วิทยาลัยเทคโนโลยีสยาม.
14.ศิริวรรณ สิริพุทไธวรรณ. (2547). คุณลักษณะของบัณฑิตที่มีผลต่อการจ้างงานของบัณฑิตมหาวิทยาลัยทักษิณ.
สำนักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา มหาวิทยาลัยทักษิณ.
15.สภาวิชาชีพบัญชี ในพระบรมราชูปถัมภ์. (2555). มาตรฐานการศึกษาระหว่างประเทศ สำหรับผู้ประกอบวิชาชีพบัญชี ฉบับที่ 3
เรื่องทักษะทางวิชาชีพ. ค้นเมื่อ 24 ธันวาคม 2558, จาก www.fap.or.th
16.สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2554). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 11
(พ.ศ. 2555-2559). ค้นเมื่อ 27 มกราคม 2559, จาก http://www.nesdb.go.th
17.Aaker, D. A., Kumar, V. & Day, G. S. (2001). Marketing research. New York : John Wiley & Son.