Somsak Jeamteerasakul, A Conception of Historical Mistake, and the 6 October Student Movement
Main Article Content
Abstract
This paper studies the so-called “conception of historical mistake” proposed by Somsak Jeamteerasakul, and applies it to evaluate the 6 October student movement. The question is how the 6 October student movement should be remembered according to Somsak's conception of historical mistake. This paper argues that although Somsak did not explicitly say that the 6 October student movement made a historical mistake, this is an inevitable conclusion if we follow his reasoning: the movement made a historical mistake for becoming the left movement dominated by the thought of the Communist Party of Thailand (CPT). This is because the CPT's thought is deeply incompatible with the foundation of liberal democracy. The implication is that we should not remember the 6 October student movement as those who fought for a political ideal that is worth pursuing. Nevertheless, this does not justify the violence in the 6 October event.
Article Details
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
- เนื้อหาและข้อมูลที่ลงตีพิมพ์ในวารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
- บทความและข้อมูล ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในทางวิชาการ ขอให้อ้างอิงแหล่งที่มาด้วย
References
กนกรัตน์ เลิศชูสกุล. (2563). จากมือตบถึงนกหวีด: พัฒนาการและพลวัตของขบวนการต่อต้านทักษิณ. กรุงเทพฯ: Illuminations Editions.
กุหลาบ สายประดิษฐ์. (2519). ปรัชญาของลัทธิมาร์กซิสม์. กรุงเทพฯ: บัวแดง.
เกษียร เตชะพีระ. (2527). เส้นทางความคิดของขบวนการนักศึกษาไทยในรอบทศวรรษ 14 ตุลาฯ: การปฏิวัติกระบวนทัศน์ 2 ครั้ง. วารสารเศรษฐศาสตร์การเมือง, 3(2), 41-55.
เกษียร เตชะพีระ. (2544). ชำแหละระบอบเลือกตั้งธิปไตย: บทเรียนทางการเมืองจากวิกฤตเศรษฐกิจไทย. ใน กาญจนี ละอองศรี, และธเนศ อาภรณ์สุวรรณ (บก.). กระจกหลายด้านฉายประวัติศาสตร์: รวมบทความเนื่องในวาระครบรอบ 60 ปีชาญวิทย์ เกษตรศิริ (น. 29-59). กรุงเทพฯ: มติชน.
เกษียร เตชะพีระ. (2547). ระบอบทักษิณ. ฟ้าเดียวกัน, 2(1), 37-55.
เกษียร เตชะพีระ. (2549, 20 ตุลาคม). ความแตกสลายของอุดมการณ์เดือนตุลาฯ. มติชน, น. 6.
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (2560). ประวัติการเมืองไทยสยาม พ.ศ. 2475-2500. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
ณัฐพล ใจจริง. (2556). ขอฝันใฝ่ในฝันอันเหลือเชื่อ: ความเคลื่อนไหวของขบวนการปฏิปักษ์ปฏิวัติสยาม (พ.ศ. 2475-2500). นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน.
ทิพวรรณ เจียมธีรสกุล. (2544). ปฐมทรรศน์ทางการเมืองของปรีดี พนมยงค์. กรุงเทพฯ: คณะกรรมการดำเนินงาน ฉลอง 100 ปี ชาตกาล นายปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส ภาคเอกชน.
ธงชัย วินิจจะกูล. (2550). ข้ามไม่พ้นประชาธิปไตยแบบหลัง 14 ตุลา: ประชาธิปไตยแบบใสสะอาดของอภิชนกับการ รัฐประหาร 19 กันยายน 2549. ใน ธนาพล อิ๋วสกุล (บก.). รัฐประหาร 19 กันยา: รัฐประหารเพื่อระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (น. 30-57). กรุงเทพฯ: ฟ้าเดียวกัน.
ธนาพล อิ๋วสกุล. (2550). แกะรอยพันธมิตรประชาชนเพื่อประชาธิปไตย: ผู้ออกบัตรเชิญให้คณะรัฐประหาร. ใน ธนาพล อิ๋วสกุล (บก.). รัฐประหาร 19 กันยา: รัฐประหารเพื่อระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (น. 288-321). กรุงเทพฯ: ฟ้าเดียวกัน.
ธิกานต์ ศรีนารา. (2552). หลัง 6 ตุลาฯ: ว่าด้วยความขัดแย้งทางความคิดระหว่างขบวนการนักศึกษากับพรรคคอมมิวนิสต์แห่งประเทศไทย. กรุงเทพฯ: 6 ตุลารำลึก.
ธิกานต์ ศรีนารา. (2556). การผงาดขึ้นและตกต่ำลงของกระแสความคิด “ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา” ในการเมืองไทยยุค “หลัง พคท.”. ฟ้าเดียวกัน, 11(2), 179-244.
ธิกานต์ ศรีนารา. (2564). รักและการปฏิวัติ: การเมืองวัฒนธรรมว่าด้วยความรักของปัญญาชนฝ่ายซ้ายไทยยุคสงครามเย็น. กรุงเทพฯ: ศยาม.
ธิกานต์ ศรีนารา. (2566). การเมืองวัฒนธรรมของซ้ายไทย: หนังสือพิมพ์ใต้ดิน, ปัญญาชนหัวก้าวหน้า, วรรณกรรมเพื่อชีวิต และสงครามความทรงจำ. กรุงเทพฯ: แสงดาว.
นิธิ เอียวศรีวงศ์. (2550). ผมไม่มีวันเห็นว่าการรัฐประหารใดๆ ชอบธรรมเป็นอันขาด. ใน ธนาพล อิ๋วสกุล (บก.). รัฐประหาร 19 กันยา: รัฐประหารเพื่อระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (น. 2-19). กรุงเทพฯ: ฟ้าเดียวกัน.
ประจักษ์ ก้องกีรติ. (2556). และแล้วความเคลื่อนไหวก็ปรากฏ: การเมืองวัฒนธรรมของขบวนการนักศึกษาและปัญญาชนก่อน 14 ตุลาฯ. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน.
ประจักษ์ ก้องกีรติ. (2565). ให้คนดีปกครองบ้านเมือง: การเมืองวัฒนธรรมของขวาไทย. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน.
ประชาธิปก. (2542). พระบรมราชวินิจฉัยของพระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยู่หัว. ใน ปรีดี พนมยงค์ (บก.). เค้าโครงการเศรษฐกิจ. (น. 59-100). กรุงเทพฯ: โครงการจัดทำสื่อเพื่อเผยแพร่เกียรติคุณ นายปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส สำหรับเด็กและเยาวชน.
ปราน จินตะเวช. (2566). สมศักดิ์ เจียมธีรสกุลกับรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์. วารสารวาระการเมืองและสังคม, 2(2), 41-55.
ปรีดี พนมยงค์. (2542). เค้าโครงการเศรษฐกิจ. กรุงเทพฯ: โครงการจัดทำสื่อเพื่อเผยแพร่เกียรติคุณ นายปรีดี พนมยงค์ รัฐบุรุษอาวุโส สำหรับเด็กและเยาวชน.
ปวงชน อุนจะนำ. (2561). กษัตริย์กระฎุมพี: มรดกทางประวัติศาสตร์จากรัชกาลที่ 9 แห่งราชวงศ์จักรี. ฟ้าเดียวกัน, 16(1), 7-71.
พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์. (2555). 6 ตุลา 2519 กับอุดมการณ์คนรุ่นหลัง 6 ตุลา. ใน คณะกรรมการจัดงานฉลอง 40 ปี 14 ตุลา เพื่อประชาธิปไตยสมบูรณ์ (บก.). รวมปาฐกถา 40 ปี 14 ตุลา (น. 77-96). กรุงเทพฯ: คณะกรรมการจัดงานฉลอง 40 ปี 14 ตุลา เพื่อประชาธิปไตยสมบูรณ์.
แพทริค โจรี. (2553). สงครามประวัติศาสตร์นิพนธ์ไทย การต่อสู้ของสถาบันกษัตริย์ในประวัติศาสตร์สมัยใหม่. (จิรวัฒน์ แสงทอง, ผู้แปล). ฟ้าเดียวกัน, 8(1), 101-124.
วันพัฒน์ ยังมีวิทยา. (2561). ปัญหาของหนังสือ Revolution Interrupted ของไทเรล ฮาเบอร์คอร์น อันเนื่องมาจากการวิจารณ์ของสมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. ฟ้าเดียวกัน, 16(1), 131-145.
วันพัฒน์ ยังมีวิทยา. (2565). สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล กับการแตกหักกับความคิดแบบปัญญาชน 6 ตุลา. ฟ้าเดียวกัน, 20 (2), 151-198.
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. (2540). จอมพล ป. พิบูลสงคราม ในทัศนะนักวิชาการและนักการทหาร. ใน ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และคณะ (บก.). จอมพล ป. พิบูลสงคราม กับการเมืองไทยสมัยใหม่ (น. 159-227). กรุงเทพฯ: มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษยศาสตร์.
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. (2544). ประวัติศาสตร์ที่เพิ่งสร้าง: รวมบทความเกี่ยวกับกรณี 14 ตุลา และ 6 ตุลา. กรุงเทพฯ: 6 ตุลารำลึก.
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. (2547). ขบวนการ 14 ตุลา กับ พคท. สืบค้นเมื่อ 11 พฤษภาคม 2566, จาก https://www.academia.edu/37498491/ขบวนการ_14_ตุลา_กับ_พคท_โดยสมศักดิ_เจียมธีรสกุล.
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. (2550). ปัญญาชน 14 ตุลา พันธมิตรฯ และแอ๊กติวิสต์ “2 ไม่เอา.” ใน ธนาพล อิ๋วสกุล (บก.). รัฐประหาร 19 กันยา: รัฐประหารเพื่อระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (น. 382-430). กรุงเทพฯ: ฟ้าเดียวกัน.
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. (2552ก). ข้อมูลใหม่กรณีสวรรคต: หลวงธำรงระบุชัด ผลการสอบสวน ใครคือผู้ต้องสงสัยที่แท้จริง. ฟ้าเดียวกัน, 7(3), 60-75.
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. (2552ข). ความหลากหลายทางสังคมวัฒนธรรมจริง: เงื่อนไขของการยอมรับความหลากหลาย. ใน เกษม เพ็ญภินันท์ (บก.). ความหลากหลายทางสังคมวัฒนธรรมในมนุษยศาสตร์ (น. 31-48). กรุงเทพฯ: วิวาทะ.
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. (2556ก). ปัญหาเรื่องการศึกษาสถาบันกษัตริย์. ฟ้าเดียวกัน, 11(2), 75-89.
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. (2556ข). Mass Monarchy. ใน ชัยธวัช ตุลาธน (บก.). ย้ำยุค รุกสมัย: เฉลิมฉลอง 40 ปี 14 ตุลา (น. 107-118). กรุงเทพฯ: มูลนิธิวีรชนประชาธิปไตยและคณะกรรมการ 14 ตุลา เพื่อประชาธิปไตยสมบูรณ์.
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. (2557ก, 26 มีนาคม). Irony หรือตลกร้ายมากๆ ที่ผมคิดในไม่กี่วันนี้. [Status update]. Facebook. สืบค้นเมื่อ 11 พฤษภาคม 2566, จาก https://www.facebook.com/share/p/15moGBqtEo/
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. (2557ข, 23 พฤศจิกายน). มีประเด็นหนึ่งที่ผมเห็นเสื้อแดงหลายคนพูดๆ กัน. [Status update]. Facebook. สืบค้นเมื่อ 11 พฤษภาคม 2566, จาก https://www.facebook.com/share/p/15UnMN2Pa7/
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. (2558, 22 พฤษภาคม). ในการมองของผม ความน่าสนใจของคลิปสัมภาษณ์ทักษิณที่เกาหลี. [Status update]. Facebook. สืบค้นเมื่อ 11 พฤษภาคม 2566, จาก https://www.facebook.com/share/p/1PW7QCdgsp/
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. (2559ก, 4 ตุลาคม). การจัดงานรำลึก 6 ตุลา กับการเผชิญหน้ากับความจริง (2). [Status update]. Facebook. สืบค้นเมื่อ 11 พฤษภาคม 2566, จาก https://www.facebook.com/somsakjeam/posts/pfbid02byWUdzBq5LtxNLfyPvvWbP5xHTAeFY4EhXPwiXY6ZNNNnoApDf5hmNRnCgwN6MPal
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. (2559ข, 7 ตุลาคม). ขบวนนักศึกษา 6 ตุลา กับประชาธิปไตย: ปัญหาการจัดงานรำลึกอดีตจากจุดยืนปัจจุบัน. [Status update]. Facebook. สืบค้นเมื่อ 11 พฤษภาคม 2566, จาก https://www.facebook.com/share/p/18MzNGHSqY/
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. (2566ก, 6 ตุลาคม). ตลกดี เรารำลึก 6 ตุลา โดยมีคำขวัญว่าเพื่อหาความจริง. [Status update]. Facebook. สืบค้นเมื่อ 26 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://www.facebook.com/share/p/1Bn5qY7fv4/
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. (2566ข, 6 ตุลาคม). ผมมีเรื่องจะเล่าเรื่องหนึ่ง ฟังดูหลายคนอาจจะว่าไม่เกี่ยว. [Status update]. Facebook. สืบค้นเมื่อ 26 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://www.facebook.com/share/p/1JrvXjiyFN/
สมศักดิ์ เจียมธีรสกุล. (2566ค, 20 กันยายน). เราต้องถามตัวเองว่าจะปล่อยให้ประวัติศาสตร์บิดเบี้ยวอย่างนี้ไปเรื่อยๆ หรือ? [Status update]. Facebook. สืบค้นเมื่อ 26 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://www.facebook.com/share/p/15cthtWeVn/
สรณ ขจรเดชกุล. (2558). กำเนิดและจุดจบของสถานีวิทยุเสียงประชาชนแห่งประเทศไทย (สปท.). ฟ้าเดียวกัน, 13(1), 255-281.
สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี. (2550). วิเคราะห์ระบอบสนธิ. ใน ธนาพล อิ๋วสกุล (บก.). รัฐประหาร 19 กันยา: รัฐประหารเพื่อระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (น. 260-287). กรุงเทพฯ: ฟ้าเดียวกัน.
อติเทพ ไชยสิทธิ์. (2564). ประวัติศาสตร์ที่เพิ่งสร้าง ในความทรงจำของข้าพเจ้า. ฟ้าเดียวกัน, 19(2), 141-147.
อุเชนทร์ เชียงเสน. (2556). ประวัติศาสตร์ “การเมืองภาคประชาชน”: ความคิดและปฏิบัติการของ “นักกิจกรรมทางการเมือง” ในปัจจุบัน. ฟ้าเดียวกัน, 11(3), 79-136.
Jeamteerasakul, S. (1993). The Communist Movement in Thailand (Doctoral dissertation), Monash University.
Lertchoosakul, K. (2016). The Rise of the Octobrists in Contemporary Thailand: Power and Conflict among Former Left-Wing Student Activists in Thai Politics. Chiangmai: Silkworm Books.
Winichakul, T. (2020). Moments of Silence: The Unforgetting of the October 6, 1976, Massacre in Bangkok. Hawaii: University of Hawaii Press.
Youngmevittaya, W. (2023). A Critique of Pridi Panomyong's Economic Plan. Political Science Review, 9(1), 107-141.