History of Political Theory of Jean Jacques Rousseau in Thai Political Context (1932-2012)
Main Article Content
Abstract
This study aims to survey and to understand the application of Jean Jacque Rousseau's political theory into the context of Thailand from 1932 to 2013. The study was conducted using the History of Political Thought Approach. The presentation in this article follows a sequence of time beginning from 1932 when Rousseau's idea was firstly introduced in Thailand during a transition of Siam (an old name for Thailand) from absolute monarchy to constitutional monarchy. From 1947 to approximately mid-1973, however, Rousseau's Political thought was prohibited in the country simply because the military dictators were not in a favor any liberal idea. From 1973 to 1979, political theory of Rousseau had been temporary revived before fading away once again after 1979. During the forbidden period, Rousseau's ideas were still appeared in several political textbooks. However, in the present time especially after the coup d'etat on 19 October 2006, political theory of Rousseau has been spread to several corners of the country once again as a tool to mobilize political participation.
Article Details
- เนื้อหาและข้อมูลที่ลงตีพิมพ์ในวารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
- บทความและข้อมูล ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในทางวิชาการ ขอให้อ้างอิงแหล่งที่มาด้วย
References
กระจกเงา. "อำนาจ," คมชัดลึก (19 สิงหาคม 2548)
คณะกรรมการจัดทำหนังสือเนื่องในโอกาสสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี. เอกสารนิเทศการศึกษาฉบับสมโภชกรุงรัตนโกสินทร์ 200 ปี. กรุงเทพฯ: คณะอนุกรรมการฯ, 2534.
เจียง แจคส์ รุสโส. หลักเศรษฐศาสตร์ของรุสโส. แปลโดย คณะยุวสาร. พระนคร: สำนักพิมพ์ย้งหลี, 2478.
จินดา จินตนเสรี. คู่มือสนทนาภาษาฝรั่งเศสด้วยตนเอง. พระนครฯ: โอเดียนสโตร์, 2502.
จินดา จินตนเสรี. สัญญาประชาคม. พระนคร: บพิธ, 2517.
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ และธำรงศักดิ์ เพชรเลิศอนันต์ (บรรณาธิการ). ปรีดี พนมยงค์ และ 4 รัฐมนตรีอีสาน + 1 (กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2544.
ไชยันต์ ไชยพร. การแปลตัวบททางปรัชญาการเมือง (ตอนที่ 3) หลักเศรษฐศาสตร์ของรุสโส : การแปลตัวบทปรัชญาการเมืองครั้งที่สองในเมืองไทย : จุดมุ่งหมายและนัยความหมาย. วิภาษา. 8 (2556): 19-23.
ไชยันต์ ไชยพร. การแปลตัวบททางปรัชญาการเมือง (ตอนที่ 4) หลักเศรษฐศาสตร์ของรุสโส : การแปลตัวบทปรัชญาการเมืองครั้งที่สองในเมืองไทย : จุดมุ่งหมายและนัยความหมาย. วิภาษา. 1 (2556): 18-20.
ไชยันต์ ไชยพร. การแปลตัวบททางปรัชญาการเมือง (ตอนที่ 7) หลักเศรษฐศาสตร์ของรุสโส : การแปลตัวบทปรัชญาการเมืองครั้งที่สองในเมืองไทย : จุดมุ่งหมายและนัยความหมาย. วิภาษา. 4 (2556): 26-30.
ไชยันต์ ไชยพร. ก่อนจะมาเป็น "มนุษย์เกิดมาเสรี แต่ทุกหนทุกแห่งเขาอยู่ในพันธนาการ" ใน สัญญาประชาคมของรุสโซ. วิภาษา. 7 (2552): 24-32.
ไชยันต์ ไชยพร. "ร้อยแปดวิถีทัศน์ : เสียงข้างมากในระบอบประชาธิปไตย," กรุงเทพธุรกิจ (28 กุมภาพันธ์ 2548)
ชำนาญ จันทร์เรือง. "สัญญาประชาคมที่นายกฯไม่ได้พูดถึง," กรุงเทพธุรกิจ (17 สิงหาคม 2548)
ฌอง ฌากส์ รุสโซ. สัญญาประชาคม, แปลโดย วิภาดา กิตติโกวิท. กรุงเทพฯ: ทับหนังสือ, 2550.
ณัฐพล ใจจริง, จาก"คณะ ร.ศ.130" ถึง "คณะราษฎร": ความเป็นมาของความคิดประชาธิปไตย"ในประเทศไทย ศิลปวัฒนธรรม. 4 (2554): 80-99.
บุญทอง เลขะกุล (ผู้รวบรวม). คู่มือระบอบใหม่. พระนคร: โรงพิมพ์สยามพาณิชย์การ, 2477.
บุญเรือง เนียมหอม. การวิเคราะห์เนื้อหาหนังสือภาษาไทยเกี่ยวกับการเมืองที่จัดพิมพ์ขึ้นตั้งแต่ระหว่างวันที่ 14 ต.ค. 2516 ถึงวันที่ 26 ม.ค. 2518 กรุงเทพฯ: หน่วยศึกษานิเทศก์ กรมฝึกหัดครู, 2519.
บทบรรณาธิการ, "เปิดปูมรมต. รัฐบาล"ทักษิณ 2/1" จงยึดมั่นในสัญญาประชาคม ไม่ใช้เสถียรภาพในทางที่ผิด," ประชาชาติธุรกิจ (14 มีนาคม 2548)
ใบตองแห้ง "เรียน คุณใบตองแห้งที่นับถือ," ไทยโพสต์ (13 กันยายน 2548)
ประสิทธิ์ ไชยทองพันธ์ุ. สงครามคอมมิวนิสต์. พระนครฯ: สยามบรรณ, 2522.
ปรีดี พนมยงค์. ประชุมกฎหมายมหาชนและเอกชนของปรีดี พนมยงค์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2553.
ปรีชา ธรรมวินทร และ สมชาย พรหมโคตร (บรรณาธิการ). จากยอดโดมถึงภูพาน : บันทึกประวัติศาสตร์ฉบับสามัญชนบทเส้นทางประชาธิปไตย . กรุงเทพฯ: สถาบันพัฒนาการเมือง, 2544.
เดือน บุนนาค. ท่านปรีดี รัฐบุรุษอาวุโสผู้วางแผนเศรษฐกิจคนแรก . พระนคร: เสริมวิทย์บรรณาคาร, 2500.
เตียง ศิริขันธ์ และจำรัส สุขุมวัฒนะ. หัวใจปฏิวัตรในฝรั่งเศส. ไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์: ไม่ปรากฏผู้พิมพ์, ไม่ปรากฏวันที่พิมพ์.
นครินทร์ เมฆไตรัตน์. การปฏิวัติสยาม 2475. กรุงเทพ: ฟ้าเดียวกัน, 2553.
นครินทร์ เมฆไตรรัตน์, "แนวความคิดชาติบ้านเมือง กำเนิด พัฒนาการและอำนาจบ้านเมือง" วารสารธรรมศาสตร์ 2 ( 2549): 10-14.
นฤมล ทับจุมพล, การใช้สื่อในการสร้างอุดมการณ์ทางการเมือง : ศึกษาจากบทเพลงของทางราชการ พ.ศ. 2475 - พ.ศ. 2530. วิทยานิพนธ์ รัฐศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการปกครอง จุฬาลงกรณ์ มหาวิทยาลัย, 2531.
นภาพร อติวาณิชย์พงศ์ . "การศึกษาทฤษฎีมาร์กซิสต์ในทศวรรษ 2490: รากฐานทางภูมิปัญญาฝ่ายซ้ายไทยหลัง 14 ตุลาคม 2516" ใน วิพากษ์ทรรัฐ. กรุงเทพฯ: สหพันธ์นิสิตนักศึกษาแห่งประเทศไทย องค์กรนักศึกษา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2528.
พระเจนดุริยางค์. ชีวประวัติของข้าพเจ้า. พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงศพ เสวกโทพระเจนดุริยางค์, 15 กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2512.
พระประศาสน์พิทยายุทธ. แผนการปฏิวัตร. พระนคร: โรงพิมพ์สารเสรี, 2491.
พระองค์เจ้าอาทิตย์ทิพอาภา. หนังสือประวัติศาสตร์สมัยการปฏิวัตร์ฝรั่งเศส และสมัยนโปเลียน โบนาปารต ภาคที่ 1. พระนคร: โรงพิมพ์เจตนาผล, 2477.
พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ. ชุมนุมพระนิพนธ์ภาคหนึ่งว่าด้วยวิชาการเมือง และสัพท์ทางวิชาการต่างๆ. พระนครฯ: ประชาไทย, 2486.
พระเจ้าวรวงศ์เธอพระองค์เจ้าวรรณไวทยากร วรวรรณ. วิทยทัศน์พระองค์วรรณ. กรุงเทพ: มูลนิธินราธิปประพันธ์พงศ์วรวรรณ, 2544.
พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว. ประมวลบทพระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หัว ภาคปกิณกะ. พิมพ์ในงานพระราชทานเพลิงพระศพ ม.ล. ฟื้น พึ่งบุญ ณ พระเมรุ วัดเทพศิรินทราวาส 22 เมษายน 2494.
พระยาพหลพลพยุหเสนา. สุนทรพจน์. พระนคร: ไทยพานิช, 2478.
สมศักดิ์ เจียมธีระสกุล. "ความเป็นมาของเพลงชาติไทยปัจจุบัน" ใน วารสารธรรมศาสตร์ 1 (2547): 1-100.
สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ. "นิตยสารอักษรสาส์น กับขบวนการสังคมนิยมไทย" ใน จากอักษรศาสน์ถึงสังคมศษสตร์ปริทัศน์. กรุงเทพฯ: ศูนย์ศึกษาเศรษฐศาสตร์การเมือง, 2549.
สุภา ศิริมานนท์. วรรณสาส์นสำนึก. กรุงเทพฯ: อมรินทร์การพิมพ์, 2529.
สุวิมล รุ่งเจริญ. บทบาทของนักหนังสือพิมพ์ในการเมืองไทยระหว่าง พ.ศ. 2490 - 2501. วิทยานิพนธ์ อักษรศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาประวัติศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2526.
สำรวจ กาญจนสิทธิ์. ท.ส. เจ้าคุณทรงสุรเดช. กรุงเทพฯ: ประมวลสาส์น, 2524.
สำนักนายกรัฐมนตรี. "ประกาศสำนักนายกรัฐมนตรี เรื่อง วันชาติ พ.ศ. 2481," ราชกิจจานุเบกษา, 1 สิงหาคม 2481.
สมบัติ จันทรวงศ์ และชัยอนันต์ สมุทรวณิช. ความคิดทางการเมืองไทย. กรุงเทพฯ: บรรณกิจ, 2523.
ไม่ปรากฏชื่อผู้เขียน. หนังสืองานศพเพื่อระลึกถึงคุณจินดา จิตนเสรี, 20 ธันวาคม พ.ศ. 2534. ไม่ปรากฏสถานที่พิมพ์.
ไม่ปรากฏชื่อผู้เขียน. "รัฐบาลขอทำสัญญากับประชาชนว่า ในอีกหกปีข้างหน้าคนจนจะหมดไปจากประเทศไทย," มติชน (15 มกราคม 2547)
ยัง ยาคส์ รูซโซ. เอมีล, แปลโดย เตียง ศิริขันธ์. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์โฆษิต, 2554.
เรืองทรัพย์ จันทรคีรี. "จริยธรรมปลิ้นปล้อน สุดท้ายก็กลียุค?," โลกวันนี้วันสุข (23 ตุลาคม 2550)
วิสุทธิ์ บุษยกุล. วีรบุรุษ นักประชาธิปไตยขุนพลภูพาน เตียง ศิริขันธ์ ผู้นำเสรีไทยภาคอีสาน. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์สุขภาพใจ, 2540.
วิทยากร เชียงกูล. การเมืองภาคประชาชน : มองจากชีวิตและงานของ ศรีบูรพา. กรุงเทพฯ: มิ่งมิตร, 2544.
วีระ มุสิกพงศ์. เจตนารมณ์วีระชน 14 ตุลาคม," สยามรัฐ, 15 ตุลาคม 2517.
หลวงวิจิตรวาทการ. ประวัติศาสตร์สากล เล่มที่ 2. พระนคร: โรงพิมพ์วิริยนุภาพ, 2474.
อริน. "ปูนบำเหน็จเมื่อเสร็จศึก' วัฒนธรรมการเมืองที่รอการเปลี่ยนแปลง," โลกวันนี้วันสุข (7 มีนาคม 2551)