สัมพันธภาพไทย-จีนระหว่าง พ.ศ. 2557-2566: สำรวจจากสื่อออนไลน์
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิชาการนี้ศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างประเทศระหว่างประเทศไทยกับสาธารณรัฐประชาชนจีน ระหว่างปี พ.ศ. 2557-2566 ตรงกับรัฐบาลพลเอกประยุทธ์ จันทร์โอชา โดยมุ่งสืบค้นข้อมูลจากสื่อออนไลน์เป็นหลัก เนื่องจากสื่อออนไลน์ปัจจุบันเป็นที่นิยมในหมู่เยาวชน บทความนี้ศึกษาเงื่อนไขเบื้องต้นในการพัฒนาความสัมพันธ์ไทยจีน โดยพยายามหาเหตุผลเบื้องต้นในการที่ไทยและจีนมีความสัมพันธ์ที่ดีขึ้นในช่วงเวลานี้ พิจารณาจากเหตุการณ์ของไทยและ จีน โดยแบ่งเป็นการสังเกตงานด้านการต่างประเทศของไทยในช่วงดังกล่าว ที่ว่าไม่ได้เน้นงานด้านต่างประเทศหรือไม่โดดเด่นเรื่องต่างประเทศ โดยผู้เขียนเห็นว่าการที่ไทยพัฒนาความสัมพันธ์กับจีนก็ถือว่าเป็นงานด้านการต่างประเทศของไทยเช่นกัน และเป็นประโยชน์ของทั้งสองฝ่าย เนื่องจากไทยได้ขยายมิตรและจีนได้ขยายโครงการ BRI (Belt and Road Initiative) ซึ่งเป็นโครงการใหญ่ของจีนที่ต้องการขยายอำนาจทางเศรษฐกิจและสร้างความร่วมมือระหว่างประเทศ โดยนำเอาแนวคิดเรื่องผลประโยชน์แห่งชาติ (National Interests) มาอธิบายในเบื้องต้น ให้พอเห็นภาพ
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
- เนื้อหาและข้อมูลที่ลงตีพิมพ์ในวารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
- บทความและข้อมูล ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในทางวิชาการ ขอให้อ้างอิงแหล่งที่มาด้วย
References
Indo-Pacific Defense Forum. (2562). จีนส่งออก “ยุทธศาสตร์จิบูตี” สู่แปซิฟิกใต้. สืบค้นเมื่อ 27 พฤษภาคม 2567, จาก https://ipdefenseforum.com/th/2019/04/
Indo-Pacific Defense Forum. (2564). จีนขยายฐานที่มั่นในบังกลาเทศ ก่อให้เกิดข้อสงสัยใหม่ๆ. สืบค้นเมื่อ 27 พฤษภาคม 2567, จาก https://ipdefenseforum.com/th/2021/09/
The Intelligence. (2564). Constructive Engagement ของอาเซียน ยังใช้ได้กับเมียนมาในปัจจุบันหรือไม่. สืบค้นเมื่อ 30 พฤษภาคม 2567, จาก https://intsharing.co/2021/04/18/constructive-engagement-
The List Group. (2567). รถไฟความเร็วสูง ไทย-ลาว-จีน. สืบค้นเมื่อ 25 กรกฎาคม 2567, จาก https://thelist.group/realist/blog/รถไฟความเร็วสูง-ไทย-จีน/
THE STANDARD. (2565). งานด้านการต่างประเทศของไทยตกต่ำมาตั้งแต่หลังรัฐประหาร ศ.ดร.สุรชาติ บำรุงสุข. [วีดีโอ] YouTube. สืบค้นเมื่อ 30 พฤษภาคม 2567, จาก https://www.youtube.com/watch?v=tAaJzdec7QQ
ไทยพีบีเอส. (2560). เปิดข้อดีเรือดำน้ำจีน "พรางตัว-อาวุธครบ-ปลอดภัย". สืบค้นเมื่อ 10 สิงหาคม 2567, จาก https://www.thaipbs.or.th/news/content/262074
ไทยพีบีเอส. (2566, มิถุนายน 19). “ดอน ปรมัตถ์วินัย" แจงเหตุถกประเทศอาเซียน. [วีดีโอ] YouTube. https://www.youtube.com/watch?v=Zq8X0eoVG7A
ไทยพีบีเอส. (2567). 14 ปี 3 รัฐบาล รู้จักโครงการรถไฟความเร็วสูงไทย-จีน. สืบค้นเมื่อ 30 สิงหาคม 2567, จาก https://www.thaipbs.or.th/news/content/343569
กรมการค้าต่างประเทศ. (2567). สี จิ้นผิง ผู้นำจีนสมัยที่ 2 และการเตรียมขยายวาระดำรงตำแหน่งประธานาธิบดีเพื่อสืบต่ออำนาจสมัยที่ 3. สืบค้นเมื่อ 29 กรกฎาคม 2567, จาก https://www.dft.go.th/Portals/3/4.%20ลี%20จิ้นผิง%20ผู้นำจีนสมัยที่%202%20(15%20มีค%2061).pdf
กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ. (2558). รายงานสถานการณ์เศรษฐกิจการค้าระหว่างประเทศประจำปี พ.ศ. 2558. สืบค้นเมื่อ 25 กรกฎาคม 2567, จาก https://www.ditp.go.th/contents_attach/131204/131204.pdf
กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ. (2566). อาร์เจนตินาเตรียมเข้าร่วมกลุ่ม BRICS ในปี 2567. สืบค้นเมื่อ 20 พฤษภาคม 2567, จาก https://www.ditp.go.th/post/146345
กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ. (2567ก). หนึ่งแถบหนึ่งเส้นทาง (BRI) กับการขนส่งสินค้าจากไทยมาจีน. สืบค้นเมื่อ 28 กรกฎาคม 2567, จาก https://www.ditp.go.th/post/173487
กรมส่งเสริมการค้าระหว่างประเทศ. (2567ข). ภาพรวมโครงการ Belt and Road Initiative (BRI). สืบค้นเมื่อ 28 กรกฎาคม 2567, จาก https://www.ditp.go.th/en/post/173487
กระทรวงการต่างประเทศ. (2565ก). นายกรัฐมนตรีและประธานาธิบดีแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีนเห็นพ้องเรื่องการดำเนินการเพื่อมุ่งสู่การเป็นประชาคมที่มีอนาคตร่วมกันไทย – จีนเพื่อนำไปสู่ความ มั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนยิ่งขึ้น. สืบค้นเมื่อ 20 กรกฎาคม 2567, จาก https://www.mfa.go.th/th/content/thailandchinabilat19112565
กระทรวงการต่างประเทศ. (2565ข). เอเชียใต้ ตะวันออกกลาง และแอฟริกา: สาธารณรัฐจิบูตี(Djibouti). สืบค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2567, จาก https://www.mfa.go.th/th/content/5d5bcc1f15e39c306000a101?cate=5d5bcb4e15e39c3060006870
กระทรวงการต่างประเทศ. (2566). การเยือนจีนของรองนายกรัฐมนตรีและรัฐมนตรีว่าการกระทรวงการต่างประเทศ. สืบค้นเมื่อ 22 กรกฎาคม 2567, จาก https://www.mfa.go.th/th/content/dpmfmvisitedchina0223?page=5d5bd3c915e39c306002a907&menu=5d5bd3c915e39c306002a909
กระทรวงการอุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม. (2564). ข้อมูลทุนการศึกษาในประเทศจีน. สืบค้นเมื่อ 25 กันยายน 2567, จาก https://www.mhesi.go.th/index.php/student/3079-2021-01-22-17-14-05.html
กระทรวงพาณิชย์. (2567). เข้า BRICS โอกาสใหม่ของไทย. สืบค้นเมื่อ 24 กรกฎาคม 2567, จาก https://www.moc.go.th/th/page/item/index/id/1
จุฑามณี สามัคคีนิชย์. (2566). นโยบายต่างประเทศไทยต่อเมียนมาหลังการรัฐประหารในเมียนมาปี 2021. วารสารการเมืองการปกครอง, 13(3), 219-238. สืบค้นเมื่อ 1 มิถุนายน 2567, จาก https://so03.tci-thaijo.org/index.php/jopag/article/view/271325/181042
ฐณยศ โล่ห์พัฒนานนท์. (2565). เจาะลึก! ซีรีส์จีน วัฒนธรรมสัมพันธ์ไทย-จีน ด้วยแว่นทฤษฎี Cultural Soft Power. สืบค้นเมื่อ 29 กรกฎาคม 2567, จาก https://www.bangkokbiznews.com/social/1000497
บีบีซีไทย. (2560). ไทยอยู่ตรงไหนในยุทธศาสตร์ "เส้นทางสายไหมมังกรจีน". สืบค้นเมื่อ 30 มิถุนายน 2567, จาก https://www.bbc.com/thai/39923602
บีบีซีไทย. (2562). อาเซียน: ประยุทธ์ร่วมประชุมสุดยอดผู้นำ สร้างความเชื่อมั่น หลังไทยผ่านเลือกตั้ง “ด้วยความเรียบร้อย”. สืบค้นเมื่อ 25 มิถุนายน 2567, จาก https://www.bbc.com/thai/thailand-48729891
บีบีซีไทย. (2567). กลุ่มประเทศบริกส์ (BRICS) สำคัญอย่างไร ทำไมไทยถึงสมัครเข้าร่วม. สืบค้นเมื่อ 30 กรกฎาคม 2567, จาก https://www.bbc.com/thai/articles/c3gy6n34y5do
ปรีดี บุญซื่อ. (2566). ครบรอบ 10 ปี “การริเริ่มแถบและเส้นทาง” BRI 5 เสาหลักที่เป็นกรอบความสัมพันธ์จีนกับโลก. สืบค้นเมื่อ 30 กรกฎาคม 2567, จาก https://thaipublica.org/2023/10/pridi376-bri/
พสิษฐ์ คงคุณากรกุล. (2564). ผู้นำ-ผู้แทนชาติในอาเซียนบรรลุ ‘ฉันทมติ 5 ข้อ’ เพื่อยุติความรุนแรงในเมียนมาและปูทางสู่การเจรจา. สืบค้นเมื่อ 24 มิถุนายน 2567, จาก https://thestandard.co/asean-reach-five-consensus-end-violence-in-myanmar/
มติชนออนไลน์. (2566). มหากาพย์ ‘เรือดำน้ำ’ คว่ำ U206A เยอรมนี รื้อ S26T ซื้อ ‘ฟริเกต’. สืบค้นเมื่อ 15 สิงหาคม 2567, จาก https://www.matichon.co.th/politics/news_4247429
รัฐบาลไทย. (2557). ข่าวนายกรัฐมนตรี: รัฐบาลคสช.ก็ได้มีการเตรียมความพร้อมเพื่อพบปะรัฐมนตรีกระทรวงการต่างประเทศของจีน. สืบค้นเมื่อ 30 กรกฎาคม 2567, จาก https://www.thaigov.go.th/news/contents/index/1233
รัฐบาลไทย. (2562). คณะรัฐมนตรี: พลเอก ประยุทธ์ จันทร์โอชา. สืบค้นเมื่อ 30 กรกฎาคม 2567, จาก https://www.thaigov.go.th/aboutus/history/cabinet_term/34
รัฐบาลไทย. (2567). ที่ประชุม ครม. มีมติให้ความเห็นชอบร่างหนังสือแสดงความประสงค์ของไทยในการเข้าร่วมเป็นสมาชิกของกลุ่ม BRICS. สืบค้นเมื่อ 31 กรกฎาคม 2567, จาก https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/83601
สถานเอกอัครราชทูต ณ กรุงปักกิ่ง. (2563). ความสัมพันธ์ไทย-จีน. สืบค้นเมื่อ 24 กรกฎาคม 2567, จาก https://thaiembbeij.org/th/republic-of-china/thai-relations-china/
สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา (องค์การมหาชน). (2563). โอกาสการค้าและการลงทุนไทย จากนโยบาย Belt and Road Initiative ของจีน. มุมมองความมั่นคง, 3(กุมภาพันธ์-พฤษภาคม 2563), 31-42. สืบค้นเมื่อ 25 กรกฎาคม 2567, จาก https://www.nsc.go.th/wp-content/uploads/Journal/article-00303.pdf
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. (2557). คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี ปี พ.ศ. 2557. สืบค้นเมื่อ 25 มิถุนายน 2567, จาก https://www.ratchakitcha.soc.go.th/DATA/PDF/2557/E/180/1.PDF
สำนักเลขาธิการคณะรัฐมนตรี. (2562). คำแถลงนโยบายของคณะรัฐมนตรี ปี พ.ศ. 2562. สืบค้นเมื่อ 25 มิถุนายน 2567, จากhttps://www.thaigov.go.th/uploads/document/66/2019/07/pdf/Doc_20190725085640000000.pdf
สำนักงานเลขาธิการนายกรัฐมนตรี. (2560). นโยบาย Thailand 4.0 คืออะไร. วารสารไทยคู่ฟ้า, 33, 4-6. สืบค้นเมื่อ 28 กรกฎาคม 2567, จาก https://spm.thaigov.go.th/FILEROOM/spm-thaigov/DRAWER004/GENERAL/DATA0000/00000368.PDF
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก. (2564). ความเป็นมาของ อีอีซี. สืบค้นเมื่อ 26 มิถุนายน 2567, จาก https://www.eeco.or.th/th/government-initiative/why-eec
สำนักงานคณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนาพิเศษภาคตะวันออก. (2567). EEC ขับเคลื่อนไทยแลนด์ 4.0. สืบค้น 28 มิถุนายน 2567, จาก https://www.eeco.or.th/th
สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี. (2565). กิจการต่างประเทศของไทยกับเวลาที่หายไปหลังรัฐประหาร 2014. สืบค้นเมื่อ 31 กรกฎาคม 2567, จาก https://www.the101.world/thailands-post-coup-foreign-policy/
สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี. (2566). ไทยซื้อเรือดำน้ำจีน เจรจากันอย่างไร ถึงตกเป็นเบี้ยล่างขนาดนั้น. สืบค้นเมื่อ 27 มิถุนายน 2567, จาก https://plus.thairath.co.th/topic/politics&society/103880
สุมาลี สุขดานนท์. (2562ก). เส้นทางสายไหมใหม่ เส้นทางการค้าแห่งอนาคต. สืบค้นเมื่อ 27 มิถุนายน 2567, จาก http://www.cuti.chula.ac.th/triresearch/saimai/2/saimai.html
สุมาลี สุขดานนท์. (2562ข). ประเทศไทยกับการยุทธศาสตร์การพัฒนาเส้นทางสายไหมใหม่ (Thailand and the New Silk Road). สืบค้นเมื่อ 21 มิถุนายน 2567, จาก http://www.cuti.chula.ac.th/triresearch/saimainew/saimainew.html
อักษรศรี พานิชสานส์. (2557). ความสัมพันธ์ไทย-จีนในยุค คสช. เป็นอย่างไร. สืบค้นเมื่อ 28 มิถุนายน 2567, จาก https://www.bangkokbiznews.com/blogs/columnist/106498
Ankersen, C. (2023). “Thailand’s Foreign Policy Does Not Exist”: Windy Times Call for Better Roots, Not Just More Bending. Journal of Indo-Pacific Affairs. Retrieved May 25, 2024, from https://www.airuniversity.af.edu/JIPA/Display/Article/3606796/thailands-foreign-policy-does-not-exist-windy-times-call-for-better-roots-not-j/
Barmé, G. R. (2013). Chinese Dreams (Zhongguo Meng 中国梦). Retrieved July 15, from https://www.thechinastory.org/yearbooks/yearbook-2013/forum-dreams-and-power/chinese-dreams-zhongguo-meng-%e4%b8%ad%e5%9b%bd%e6%a2%a6/
Belt and Road Portal. (2024). Belt and Road Initiative. Retrieved May 25, 2024, from https://eng.yidaiyilu.gov.cn/
Busbarat, P. (2024). “Bamboo Stuck in the Chinese Wind”: The Continuing Significance of the China Factor in Thailand’s Foreign Policy Orientation. Contemporary Southeast Asia: A Journal of International and Strategic Affairs, 46(1), 125-146. Retrieved May 25, 2024, from https://muse.jhu.edu/article/925578
Deng, Y. (1998). The Chinese Conception of National Interests in International Relations. The China Quarterly, 154, 308-329. https://doi.org/10.1017/S0305741000002058
Hoffmann, S. (Ed.). (1960). Contemporary Theory in International Relations. Englewood Cliffs, NJ: Prentice-Hall.
Ji, X., & Rana, P. B. (2024). Asian Development Bank and the Belt and Road Initiative: Challenges and Opportunities. In Quibria, M. G., & Akanda, A. (Eds.). The Elgar Companion to the Asian Development Bank (pp. 1-10). Cheltenham, UK: Edward Elgar Publishing Limited.
Legacy IAS Academy. (2020). China Suggests Shift in BRI Approach. Retrieved May 29, 2024, from https://www.legacyias.com/china-suggests-shift-in-bri-approach/
Morgenthau, H. J., & Thompson, K. W. (2005). Politics Among Nations: The Struggle for Power and Peace (7th ed.). Boston, MA: McGraw-Hill Education.
Nuechterlein, D. E. (2009). National Interests and Foreign Policy: A Conceptual Framework for Analysis and Decision-Making. Review of International Studies, 2(3), 246-266. https://doi.org/10.1017/S0260210500116729
Phanishsarn, A. (2023). Thai Collaboration with Initiative Yields Fruit. Retrieved June 25, 2024, from https://global.chinadaily.com.cn/a/202310/16/WS652c773fa31090682a5e8a59.html
Satgar, V. (2020). Old and New Imperialism: The End of US Domination? In Satgar, V. (Ed.). BRICS and the New American Imperialism: Global Rivalry and Resistance (pp. 1-28). Johannesburg, South Africa: Wits University Press.
Smith, S., Hadfield, A., Dunne, T., & Kitchen, N. (2024). Foreign Policy: Theories, Actors, Cases (4th ed.). Oxford, UK: Oxford University Press.
The United Nations. (2014). Statement Attributable to the Spokesman for the Secretary-General on Thailand. Retrieved July 25, 2024, from https://www.un.org/sg/en/content/sg/statement/2014-05-20/statement-attributable-the-spokesman-for-the-secretary-general-thailand
Tossini, J. V. (2024). A Look at AUKUS – The Indo-Pacific Quasi-Alliance. Retrieved May 17, 2024, from https://ukdefencejournal.org.uk/a-look-at-aukus-the-indo-pacific-quasi-alliance/
U.S. Department of State. (2014). Coup in Thailand. Retrieved June 19, 2024, from https://2009-2017.state.gov/secretary/remarks/2014/05/226446.htm