วิพากษ์ “สุวรรณภูมิ” จากมุมมองประวัติศาสตร์ชาติพันธุ์ในจีน
Main Article Content
บทคัดย่อ
บทความวิจัยนี้แบ่งเป็น 2 ส่วนสำคัญ คือ 1) ส่วนแรกของบทความมุ่งวิพากษ์สุวรรณภูมิในฐานะกรอบมโนทัศน์ทางความรู้ เพื่อนำไปสู่การมองสุวรรณภูมิในฐานะเครื่องมือทางวิชาการที่ยืดหยุ่น ที่ช่วยให้หลุดพ้นการมุ่งค้นหาอาณาจักรสุวรรณภูมิว่าอยู่ที่ใด และขณะเดียวกันการมองสุวรรณภูมิในฐานะเครื่องมือทางวิชาการที่ยืดหยุ่นอาจช่วยให้หลุดพ้นกรอบอาณาบริเวณศึกษาที่ยึดพื้นที่เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ทาบทับเข้ากับสุวรรณภูมิอย่างแข็งทื่อ 2) ส่วนที่สองของบทความนำเสนอขยายความการใช้กรอบมโนทัศน์สุวรรณภูมิในฐานะเครื่องมือทางวิชาการที่ยืดหยุ่น ด้วยการอ่านการสร้างความรู้จากจีนที่เกี่ยวข้องกับสุวรรณภูมิอย่างสำคัญคือ ความรู้เกี่ยวกับกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใช้ภาษาตระกูลไทในจีน โดยเฉพาะชนชาติไต การอ่านการสร้างความรู้ดังกล่าวในเชิงวิพากษ์ จะช่วยฉายให้เห็นการเมืองของความรู้ ตลอดจนการเชื่อมวางและรักษาระยะห่างของจีนกับการเป็นส่วนหนึ่งหรือไม่เป็นส่วนหนึ่งของความรู้สุวรรณภูมิที่รัฐไทยส่งเสริม รวมทั้งนัยสำคัญของความรู้ดังกล่าวต่อการก่อรูปของชาติจีน กล่าวโดยสรุปนอกจากการชวนคิดเกี่ยวกับสุวรรณภูมิในฐานะเครื่องมือทางความรู้แล้ว บทความวิจัยนี้มุ่งศึกษามุมมองทางความรู้ที่จีนมีต่อกลุ่มชาติพันธุ์ที่ใช้ภาษาตระกูลไท โดยเฉพาะชนชาติไต ซึ่งการศึกษาประวัติศาสตร์สุวรรณภูมิและไทยมักเชื่อมต่อกับกลุ่มชาติพันธุ์ดังกล่าว
Article Details

This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
- เนื้อหาและข้อมูลที่ลงตีพิมพ์ในวารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรง ซึ่งกองบรรณาธิการวารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใดๆ
- บทความและข้อมูล ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารรัฐศาสตร์และรัฐประศาสนศาสตร์ ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในทางวิชาการ ขอให้อ้างอิงแหล่งที่มาด้วย
References
จอมเกล้าเจ้าอยู่หัว, พระบาทสมเด็จพระ. (2504). จารึกบนแผ่นศิลา ที่ศาลาในบริเวณพระปฐมเจดีย์. ใน ยอร์ช เซเดส์ (บก.). ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 2 (น. 43-45). พระนคร: ศิวพร.
เจียแยนจอง. (2548ก). ต้นตอวัฒนธรรมโบราณที่เกี่ยวข้องกับถิ่นกำเนิดคนไท. ใน สุจิตต์ วงษ์เทศ (บก.). “คนไท” ไม่ใช่ “คนไทย” แต่เป็นเครือญาติชาติภาษา: รวมความรู้ "ไทยศึกษา" ของ "ศาสตราจารย์สองแผ่นดิน (น. 29-49). กรุงเทพฯ: มติชน.
เจียแยนจอง. (2548ข). สาเหตุที่ชาวสุโขทัยเรียกชื่อวันและปีของจีนว่าเป็นของไทย: ศึกษาแหล่งกำเนิดของคนไทยจากศิลาจารึกสุโขทัย. ใน สุจิตต์ วงษ์เทศ (บก.). คนไท” ไม่ใช่ “คนไทย” แต่เป็นเครือญาติชาติภาษา: รวมความรู้ "ไทยศึกษา" ของ "ศาสตราจารย์สองแผ่นดิน (น. 406-416). กรุงเทพฯ: มติชน.
เฉินหลี่ฝั้น, และตู้อี้ถิง. (เมษายน 2529). จักรพรรดิกุบไลข่านทรงพิชิตอาณาจักรตาลี ทำให้ชนชาติไทยอพยพลงใต้ขนานใหญ่จริงหรือ. ศิลปวัฒนธรรม, 7(6), 104-116.
เฉินหลี่ฝั้น. (2527, พฤศจิกายน). การวิเคราะห์เบื้องต้นเกี่ยวกับโบราณวัตถุสถานที่สำคัญของอาณาจกัรน่านเจ้าและตาลี. ศิลปวัฒนธรรม, 6(1), 62-84.
ชลธิรา สัตยาวัฒนา. (2541). ประวัติศาสตร์ไป่เยว่: การสืบสานเชิงมานุษยวิทยา. กรุงเทพฯ: โครงการไทยศึกษา มหาวิทยาลัยรังสิต.
ชลธิรา สัตยาวัฒนา. (2544). สืบสานประวัติศาสตร์สังคมและวัฒนธรรมไป่เยว่ การศึกษาเชิงมานุษยวิทยา. กรุงเทพฯ: บริษัท สำนักพิมพ์สร้างสรรค์ จำกัด.
ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (2546). สุวรรณภูมิ: ผู้คนและแผ่นดิน. กรุงเทพฯ: มูลนิธิโตโยต้าประเทศไทย.
ดำรงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. (2457). ประวัติขอม. ใน พระราชพงศาวดาร ฉบับพระราชหัตถเลขา (น. 37-57). พระนคร: โรงพิมพ์ไทย.
ธนิต อยู่โพธิ์. (2510). สุวัณณภูมิ. พระนคร: กรมศิลปากร.
ประเวศ วะสี. (2554). ยุทธศาสตร์อารยธรรม อารยธรรมสุวรรณภูมิ. กรุงเทพฯ: กระทรวงวัฒนธรรม.
ไป๋ ฉุน. (2545). ไทศึกษาในจีน. กรุงเทพฯ: อัลฟ่า พับลิชชิ่ง.
พจนก กาญจนจันทร. (2555). จินตนาการ “สุวรรณภูมิ”. ใน สุดแดน วิสุทธิลักษณ์ (บก.). 25 ปีพิพิธภัณฑ์ธรรมศาสตร์เฉลิมพระเกียรติ พ.ศ.2530-2555 (น. 35-48). กรุงเทพฯ: คณะสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
มานิต วัลลิโภดม. (2521). สุวรรณภูมิอยู่ที่ไหน. กรุงเทพฯ: การเวก.
ยรรยง จิระนคร, และรัตนาพร เศรษฐกุล. (2551). ประวัติศาสตร์สิบสองปันนา. กรุงเทพฯ: สร้างสรรค์.
รัตนาพร เศรษฐกุล. (2541). โครงการประเมินสถานภาพไทศึกษา: เอกสารประกอบการประชุมเสนอผลการวิจัย. กรุงเทพฯ: สถาบันไทยศึกษา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
รุ่งโรจน์ ธรรมรุ่งเรือง. (2555, ธันวาคม). สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพกับสุวรรณภูมิศึกษา. ดำรงวิชาการ, 41-68.
ศรีศักร วัลลิโภดม. (2545). สุวรรณภูมิ ศูนย์กลางอยู่ในลุ่มน้ำท่าจีน-แม่กลอง. ใน สุจิตต์ วงษ์เทศ, สุวรรณภูมิ อยู่ที่นี่ ที่แผ่นดินสยาม (น. 111-150). กรุงเทพฯ: มติชน.
สถาบันสุวรรณภูมิศึกษา. (2565, เมษายน 23). สืบรากเหง้าผู้คนในสุวรรณภูมิ ผ่าน DNA มนุษย์โบราณ. สืบค้นเมื่อ 23 พฤศจิกายน 2567, จาก https://tassha.mhesi.go.th/assets/files/files/84-filepdf-20230104141622-1-สืบรากเหง้า_compressed.pdf
สายชล สัตยานุรักษ์. (2557). การสร้างความหมายของ “ชาติไทย”/“เมืองไทย” และ “ความเป็นไทย” โดย สมเด็จฯ กรมพระยาดำรงราชานุภาพ. ใน 10 ปัญญาชนสยาม เล่ม 1 ปัญญาชนแห่งรัฐสมบูรณาญาสิทธิราชย์ (น. 314-402). กรุงเทพฯ: โอเพ่น โซไซตี้.
สำนักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน). (2561). สุวรรณภูมิ อารยธรรมเชื่อมโลก. กรุงเทพฯ: สำนักงานพัฒนาวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งชาติ.
สุจิตต์ วงษ์เทศ. (2545). สุวรรณภูมิ อยู่ที่นี่ ที่แผ่นดินสยาม. กรุงเทพฯ: มติชน.
สุจิตต์ วงษ์เทศ. (2547ก). ชาติพันธุ์สุวรรณภูมิ บรรพชนไทยในอุษาคเนย์. กรุงเทพฯ: มติชน.
สุจิตต์ วงษ์เทศ. (2547ข). ประวัติศาสตร์สังคมและวัฒนธรรม สยามประเทศ. กรุงเทพฯ: มติชน.
สุจิตต์ วงษ์เทศ. (2549). สุวรรณภูมิ ต้นกระแสประวัติศาสตร์ไทย. กรุงเทพฯ: มติชน.
Baker, C., & Phongpaichit, P. (2014). A History of Thailand (3rd ed.). Cambridge, UK: Cambridge University Press.
Chan, Y.-k. (2019). Ethnicity and Frontier Studies in Southwest China: Pan-Thai Nationalism and the Wartime Debate on National Identity, 1932–1945. Twentieth-Century China, 44(3), 324-344.
Chen, L. (1989). A Brief Analysis on Cultural Relics of Nanzhao-Dali Kingdom. Journal of the Siam Society, 77(1), 43-53.
Chen, L., & Du, Y. (1989). Whether Kublai Khan’s Conquest of the Dali Kingdom Gave Rise to the Mass Migration of the Thai People to the South. Journal of the Siam Society, 77(1), 33-41.
Davies, H. R. (1909). Yün-Nan: The Link Between India and the Yangtze. Cambridge, UK: Cambridge University Press.
Dodd, W. C. (1923). The Tai Race. Cedar Rapids, IA: The Torch Press.
Guo, W. (2019). Narrating Southern Chinese Minority Nationalities: Politics, Disciplines, and Public History. Singapore: Palgrave Macmillan.
Hsieh, S.-C. (1989). Ethnic-Political Adaptation and Ethnic Change of the Sipsong Panna Dai: An Ethnohistorical Analysis. (Ph.D. dissertation), University of Washington.
Hsieh, S.-C. (1995). On the Dynamics of Tai/Dai-Lue Ethnicity. In Harrell, S. (Ed.). Cultural Encounters on China's Ethnic Frontiers (pp. 301–331). Seattle, WA: University of Washington Press.
Keyes, C. (1995). Who are the Tai? Reflections on the Invention of Identities. In Romanucci-Ross, L., & Vos, G. D. (Eds.). Ethnic identity: Creation, conflict, and accommodation (pp. 136-160). London, UK: Altamira Press.
Kratoska, P. H. (2005). Locating Southeast Asia: Geographies of Knowledge and Politics of Space. Singapore: Singapore University Press.
Milner, A., & Johnson, D. (2001). The Idea of Asia. Retrieved November 23, 2024, from https://openresearch-repository.anu.edu.au/bitstreams/ed284cdc-b993-4efd-a961-cfb6deccb085/download
Mullaney, T. S. (2011). Coming to Terms with the Nation: Ethnic Classification in Modern China. Berkeley, CA: University of California Press.
Peleggi, M. (2016). Excavating Southeast Asia’s Prehistory in the Cold War: American Archaeology in Neocolonial Thailand. Journal of Social Archaeology, 16(1), 94-111.
Phanomvan, P. (2018, November 30). Lost in Literature. Retrieved September 1, 2024, from https://www.newmandala.org/lost-in-literature-the-misuse-of-western-sources-and-perspectives-part-iii/
Pongpanich, B., & Thinapong, S. (2019). Suvarnabhumi: The Golden Land. Bangkok: GISTDA & BIA.
Revire, N. (2018). Facts and Fiction: The Myth of Suvannabhumi Through the Thai and Burmese Looking Glass. TRaNS: Trans-Regional and National Studies of Southeast Asia, 6(2), 167-205.
Taing, R. (2018, January 6). Was Cambodia Home to Asia’s Ancient ‘Land of Gold’? Retrieved September 1, 2024, from https://www.khmerkromngo.org/was-cambodia-home-to-asias-ancient-land-of-gold/
Thein, C. (2012, November 19). Seminar Ignites Debate on Suvannabhumi. Southeast Asian Archaeology. Retrieved September 1, 2024, from https://www.southeastasianarchaeology.com/2012/11/26/debating-the-mon-homeland/#google_vignette
Winichakul, T. (2005). Trying to Locate Southeast Asia from Its Navel: Where Is Southeast Asian Studies in Thailand? In Kratoska, P. H. (Ed.). Locating Southeast Asia: Geographies of Knowledge and Politics of Space (pp. 113-132). Singapore: Singapore University Press.
Xiong, Z., & Lin, Y. (2019). Chinese Knowledge on Suvarnabhumi Before the 10th Century. In Pongpanit, B., & Thinapong, S. (Eds.). Suvarnabhumi: The Golden Land (pp. 115-125). Bangkok: GISTDA & BIA.
Yang, B. (2009). Between Winds and Clouds: The Making of Yunnan. New York: Columbia University Press.
Chen, B. 陈碧笙. (1938). Dian bian jingying lun 滇边经营论 [ว่าด้วยการจัดการชายแดนยูนนาน]. N.P.: N.P.
Chen, L. 陈吕范. (2005). Zhongtai guanxi ruogan wenti yanjiu keti xiaojie 中泰关系若干问题研究课题小结 [สรุปหัวข้อวิจัยประเด็นต่างๆ ในความสัมพันธ์จีน-ไทย].
In Lüfan, C. (Ed.). Taizu qiyuan yu Nanzhaoguo yanjiu wenji 泰族起源与南诏国研究文集 Vol. 1 [รวมงานวิจัยเรื่องกำเนิดชนชาติไทและอาณาจักรน่านเจ้า] (pp. 1-17). Beijing: Zhongguo shuji chubanshe.
Chen, L., & Du, Y. 杜玉亭. (2005). Hubilie ping Daliguo shifou yinqi Taizu daliang nanqian [จักรพรรดิกุบไลข่านทรงพิชิตอาณาจักรต้าหลี่ทำให้ชนชาติไทย อพยพลงใต้ขนานใหญ่จริงหรือ]. In Chen, L. (Ed.). Taizu qiyuan yu Nanzhaoguo yanjiu wenji 泰族起源与南诏国研究文集Vol. 1 [รวมงานวิจัยเรื่องกำเนิดชนชาติไทและอาณาจักรน่านเจ้า] (pp. 50-64). Beijing: Zhongguo shuji chubanshe.
Fu, S. 傅斯年. (1928). Lishi yuyan yanjiu suo gongzuo zhi zhiqu 歷史語言研究所工作之旨趣 [จุดประสงค์การทำงานของสถาบันประวัติศาสตร์และภาษาศาสตร์]. In Zhongyang yanjiuyuan lishi yuyan yanjiu suo 中央研究院歷史語言研究所 [Institute of History and Philology]. Lishi yuyan yanjiu suo jikan di yi ben di yi fen 歷史語言研究所集刊第一本第一分 [รวมบทความสถาบันประวัติศาสตร์และภาษาศาสตร์ ตอนที่ 1] (pp. 3-10). Nanjing: Zhongyang yanjiuyuan lishi yuyan yanjiu suo.
Hsieh, S.–C. 謝世忠. (1993). Nanzhao, Taiguo, Yunnan guguo: dangdai Zhongtai guozu zhuyi de jingzheng guocheng [น่านเจ้า ประเทศไทย อาณาจักรโบราณยูนนาน: การปะทะของชาตินิยมไทย-จีนในยุคร่วมสมัย]. Kaogu renleixue xuekan, 49, 50-69.
Ke, S. 柯树勋. (2011). Pusi yanbian zhilue 普思沿边志略 [สังเขปประวัติศาสตร์ผู่ซือ]. In Ma, Y. (Ed.). 马玉华, Zhongguo bianjiang yanjiu wenku: Xinan bianjiang, Vol. 1 中 国 边 疆 研 究 文 库: 西 南 边 疆. 第 1 卷 [รวมงานวิจัยชายแดนจีน: ชายแดนตะวันตกเฉียงใต้] (pp. 9-74). Haerbin: Heilongjiang jiaoyu chubanshe.
Li, F. 李拂一. (1933). Cheli 車里 [เชอหลี่]. Shanghai: Shangwu yin shuguan.Yang, C. 楊成志. (1930). Yunnan mizu diaocha baogao 雲南民族調查報告 [รายงานการสำรวจชนชาติในยูนนาน]. Guangzhou: Guoli zhongshan daxue yuyan lishs xue yan jiu suo.
Yunnan shaoshu minzu shehui lishi diaocha zu 云南少數民族社会历史調查組. (1964). Daizu jianshi jianzhi hepian 傣族簡史簡志合編 [สังเขปประวัติศาสตร์ชนชาติไต]. Beijing: Zhongguo kexueyuan minzu yanjiusuo.
Yunnan sheng lishi yanjiu suo. 云南省历史研究所. (2005). Zhu Taiguo Dashi Chai Zhemin lai wo suo zuotan 驻泰国大使柴泽民来我所座谈 [เอกอัครราชทูตจีนประจำประเทศไทย ไฉเจ๋อหมินเยี่ยมเยือนเพื่อสนทนากับทางสถาบัน]. In Lüfan, C. (Ed.). Taizu qiyuan yu Nanzhaoguo yanjiu wenji Vol. 2 (pp. 226-227). Beijing: Zhongguo shuji chubanshe.