ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับระบบการชำระเงินแบบพร้อมเพย์

Authors

  • เสาวลักษณ์ อินภุชงค์ นักศึกษาปริญญาโท สาขาวิชาระบบสารสนเทศ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยรีาชมงคลธัญบุรี
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ดาริณี พิมพ์ช่างทอง อาจารย์ประจำคณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

Keywords:

การยอมรับเทคโนโลยี, ระบบการชำระเงินแบบพร้อมเพย์

Abstract

The objective of this study was to explore factors and behaviors that influenced the acceptance of Prompt pay payment system. The sample group, selected by convenience sampling, was 400 Prompt pay payment system users in PathumThani province. Statistics used to analyze data were descriptive statistics consisting of frequency, percentage, mean and standard deviation; and inferential statistics comprising Independent Samples t-test, One-way ANOVA, Least Significant Difference (LSD),and Multiple Linear Regression at a statistically significant difference of 0.05. The results revealed that most of the respondents were single female aged 31-40 and have been employed by the government sectors and state enterprises. It was also found that their awareness of the system usefulness, its user friendliness, and all aspects of their using behaviors were rated highly important. The hypotheses results showed that the respondents’ occupation and marital status affected the acceptance of Prompt pay payment system in the aspect of user friendliness. Their behaviors of using the system including payment channel, necessity to use the system, and social influence had an impact on the acceptance of Prompt pay payment system in the total aspect. Particularly, their necessity to use the system was rated the most influential. Considering the usefulness of the system, it was found that the most influential aspect was the payment channel.

References

1. กรุณรัตน์ ช้างเจริญ และ สิตานนัท์ ฉิมเทศ. (2558). ศึกษาความต้องการใช้ระบบพร้อมเพย์ของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร สาขาภาษีเจริญ. รายงานการปฎิบัติงานสหกิจศึกษา มหาวิทยาลัยสยาม.
2. เกศวิทู ทิพยศ. (2557). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้บริการธุรกรรมทางการเงินผ่านสื่อออนไลน์กรณีศึกษา ธนาคาร ซีไอเอ็มบีไทย จำกัด (มหาชน). การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเนชั่น.
3. จิญาดา แก้วแทน. (2557). ปัจจัยที่มีผลต่อการยอมรับการใช้บริการชำระเงินทางอิเล็กทรอนิกส์ผ่านอุปกรณ์สมาร์ตโฟน กรณีศึกษา ในพื้นที่กรุงเทพมหานครและปทุมธานี. การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณทิต มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
4. ดุษฎี ศรีสว่างสุข. (2557). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับการใช้เครื่องทำธุรกรรมทางการเงินอัตโนมัติ : กรณีศึกษา เครื่องฝากเงิน-ถอนอัตโนมัติ. การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณทิต. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
5. ธนาคารแห่งประเทศไทย. (2559). ระบบการชำระเงินแบบพร้อมเพย์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก https://www.bot.or.th/Thai/PaymentSystems/PSServices/PromptPay/Pages/default.aspx.
6. ภัทราวดี วงศ์สุเมธ. (2556). “ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับและการใช้งานระบบการเรียนผ่านเว็บมหาวิทยาลัยกรุงเทพ”. วารสารนักบริหาร. 33(3), 1-10.
7. ระบบอิเล็กทรอนิกส์แห่งชาติ. (2559). ระบบการชำระเงินแบบพร้อมเพย์. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://www.epayment.go.th
8. วรวัฒิ มีชัย. (2555). ปัจจัยที่มีผลต่อการตัดสินใจใช้บริการธุรกรรมทางการเงินผ่านโทรศัพท์เคลื่อนที่ในเขตกรุงเทพมหานคร. การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณทิต. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.
9. สิงหะ ฉวีสุข และ สุนนัทา วงศจ์ตุรภัทร. (2555). ทฤษฎีการยอมรับการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ คณะเทคโนโลยีสารสนเทศ นักศึกษาปริญญาเอก สถาบันพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. รายงานการวิจัย. คณะเทคโนโลยสีารสนเทศ. สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง. เข้าถึงได้จาก http://joumal.it.kmitl.ac.th

Downloads

Published

2018-11-30

How to Cite

อินภุชงค์ เ., & พิมพ์ช่างทอง ผ. ด. (2018). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการยอมรับระบบการชำระเงินแบบพร้อมเพย์. Pathumthani University Academic Journal, 10(2), 126–130. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/ptujournal/article/view/177529