พระสงฆ์กับความขัดแย้งทางการเมืองในท้องถิ่น : ศึกษาเฉพาะกรณี พระครูวิบูลสิทธธิรรม เจ้าอาวาสวัดหนอมพยอม จังหวัดพิษณุโลก

Authors

  • รองศาสตราจารย์ ดร.พระมหาบุญเลิศ ช่วยธานี รองคณบดีฝ่ายวิชาการ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.พระชยานันทมุนี . ผู้อำนวยการวิทยาลัยสงฆ์นครน่า มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • ปิยวรรณ หอมจันทร์ อาจารย์ประจำภาควิชารัฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
  • ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภัทรพล ใจเย็น หัวหน้าภาควิชาเศรษฐศาสตร์ คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

Keywords:

พระสงฆ์, ความขัดแย้งทางการเมืองท้องถิ่น, พระครูวิบูลสิทธิธรรม

Abstract

Phrakhruvibunsitthitham has the concept about the conflict management in the community that due to lack of good life quality. If the people in the community has the good life quality and then the conflict will not happen. The conflict solution must create the strength for life quality of people. To start of Saccasasomsap Saving Project has the effect to the people conflict in the community for the living and the politics that can reduce the conflict. For Chumsaengsongkram community has the conflict problem with the solution way. It becomes the process of learning promotion of villagers towards the conflict change to cooperation through principle of Dhamma in Buddhism. Phrakhruvibunsitthitham tries to create the community to be the kindness community and community people trust each other through the concept of election model in the local community by focusing on creation for compromised political movement and through management of local community leaders that focused on confidence creation and sincerity and to give the importance to the participation of villagers in the community by voting in the form of referendum of every village and to create the justice for budgetary allocation

References

1. พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตโต). (2535). อุดมธรรมนำจิตสำนึกของสังคมไทย. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: กรุงเทพบุ๊คสโตร์.
2. สิริวัฒน์ คำวันสา. (2544). เอกสารประกอบการฝึกอบรมหลักสูตรโครงการเสริมความรู้ถวายพระสงฆ์เพื่อการพัฒนาสังคมไทย. สำนักเสริมศึกษาและบริการสังคม. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
3. วันชัย วัฒนศัพท์. (2547). การจัดการความขัดแย้งและการขอโทษ. พิมพ์ครั้งที่ 2. นนทบุรี: โรงพิมพ์ศาลาแดง.
4. วันชัย วัฒนศัพท์. (2547). ความขัดแย้งหลักการและเครื่องมือแก้ปัญหา. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ฃ
5. สถาบันยุทธศาสตร์. (2544). สันติวิถี : ยุทธศาสตร์ชาติเพื่อความมั่นคง. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์สูตรไพศาล.
6. สถาบันยุทธศาสตร์. (2544). การมีส่วนร่วมของประชาชนความยั่งยืนของประชาธิปไตย. กรุงเทพมหานคร : หจก.ธรรมกมล การพิมพ์.
7. สถาบันยุทธศาสตร์. (2548). สันติวิถีกับความยั่งยืนของประชาธิปไตย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

Downloads

Published

2018-11-30

How to Cite

ช่วยธานี ร. ด., . ผ. ด., หอมจันทร์ ป., & ใจเย็น ผ. ด. (2018). พระสงฆ์กับความขัดแย้งทางการเมืองในท้องถิ่น : ศึกษาเฉพาะกรณี พระครูวิบูลสิทธธิรรม เจ้าอาวาสวัดหนอมพยอม จังหวัดพิษณุโลก. Pathumthani University Academic Journal, 10(2), 276–286. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/ptujournal/article/view/178089