การรับรู้เรื่องปัจจัยเกี่ยวเนื่องกับการทำงานที่มีผลต่อสุขภาพ ของบุคลากรห้องสมุดโรงพยาบาลของรัฐในเขตกรุงเทพมหานคร
Keywords:
การรับรู้, สุขภาพบุคลากร, ความปลอดภัยในการทำงานAbstract
Research objective to study the perception of state hospital library personnel in Bangkok Metropolitan area of work-related factors affecting health in the aspects of knowledge-acquired information resource, knowledge-acquired content, application of knowledge-acquired content, and confronted problem. Research methodology is survey research using questionnaire in conducting research. Data was collected from library personnel such as librarians, library officers, library staffs and personnel in other positions who have worked in 31 state hospital libraries in Bangkok Metropolitan area for total of 142 persons. The questionnaires were returned from 130 persons or 91.55%. Data was analyzed by frequency distribution to find percentage, mean and standard deviation. Research result: The maximum number of 127 library personnel or 97.69% acquired knowledge from internet information resource and all of 130 library personnel or 100% acquired knowledge in the issue in type of work-related factors affecting health. The content applied by the maximum number of 77 library personnel was the method of health prevention and care from work-related factors affecting health, and it was also applied in high and moderate level. The problem confronted by the maximum number of 128 library personnel was the inadequacy of television programs in providing knowledge of the work-related factors affecting health. In addition, the library personnel confronted with the problems on every issue in moderate level. The state hospital library personnel in Bangkok Metropolitan area could apply acquired knowledge for prevention and care of self-health and health of other persons in correct ways, and to be the guideline for information resource in knowledge provision in the aspect of prevention and care of library personnel health that occurred or may occur in the future.
References
2. วีระพล วงษ์ประพนัธ์. [ออนไลน์]. (2559). สรุปสถานการณ์โรคและสิ่งคุกคามสุขภาพของ บุคลากรที่ปฏิบัตงิานในโรงพยาบาลสังกัดสำนักงานสาธารณสุขจังหวัดนครราชสีมา. เข้าถึงเมื่อ 20 กุมภาพันธ์ 2559. จาก: http://61.19.30.156/opppkorat/UserFiles/files/Health%20status%20of%20h ealth%20worker55.pdf.
3. สำนักความปลอดภัยแรงงาน. (2558). สถานการณ์การดำเนินงานด้านความปลอดภัยและอาชีวอนามัยของประเทศไทยปี 2558. กรุงเทพมหานคร : บจก. พินนาเคิล แอดเวอร์ไทซิ่ง.
4. สำนักโรคจากการประกอบอาชพีและสิ่งแวดล้อม. (2554). คู่มือการประเมินความเสี่ยงจากการทำงานของบุคลากรในโรงพยาบาล (ฉบับปรับปรุงแก้ไข พ.ศ. 2554). (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนมุสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
5. สำนักโรคจากการประกอบอาชีพและสิ่งแวดล้อม. (2555). แนวทางการวินิจฉัยโรคและภัยจากการประกอบอาชีพเบื้องต้นสำหรับหน่วยบริการสาธารณสุข. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมนมุสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
6. อรวรรณ แก้วบุญชู. (2547). การพัฒนาศักยภาพการดูแลสุขภาพของพนักงานขับรถโดยสาร ประจำทางองค์การขนส่งมวลชนกรุงเทพ : รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. กรุงเทพหานคร : สำนักงานกองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ และสำนักงานกองทุนสนับสนุนการ วิจัย.
7. อภิรดี ภักดีเจริญ. (2548). การประสบอันตรายจากการท างานของบุคลากรโรงพยาบาลกลาง กรุงเทพมหานคร. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
8. เอมอัชฌา (รัตน์ริมจง) วัฒนบุรานนท์. (2547). วิทยาศาสตร์สุขภาพสิ่งแวดล้อม = Enviornmental health science. กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์
Downloads
Published
How to Cite
Issue
Section
License
บทความที่ได้รับการตีพิมพ์เป็นลิขสิทธิ์ของวารสารมหาวิทยาลัยปทุมธานี
ข้อความที่ปรากฎในบทความแต่ละเรื่อง เป็นความคิดเห็นส่วนตัวของผู้เขียน กองบรรณาธิการไม่จำเป็นต้องเห็นด้วยเสมอไป และไม่มีส่วนรับผิดชอบใด ๆ ถือเป็นความรับผิดชอบของผู้เขียนแต่เพียงผู้เดียว