ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลในการบริหารจัดการโลจิสติกส์ : ศึกษากรณีเขตเศรษฐกจิพิเศษมุกดาหาร

Authors

  • เทอดศักดิ์ บุญทศ นักศึกษาหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยปทุมธานี
  • ดร.ชลิต ศานติวรางคณา อาจารย์ประจำหลักสูตรรัฐประศาสนศาสตรดุษฎีบัณฑิต มหาวิทยาลัยปทุมธานี

Keywords:

การจัดการโลจิสติกส์, เขตเศรษฐกิจพิเศษ

Abstract

The objective of this research article was to report the results from the study of the problematic state and other challenges affecting the logistics management in Mukdahan Special Economic Zone, as well as the effectiveness of logistics management in Mukdahan Special Economic Zone. Mixed methods were employed for gathering research data. The results of the level of effectiveness of logistics management in Mukdahan Special Economic Zone revealed that the overall opinions were at high level. Moreover, the study of factor influencing the effectiveness of logistics management in Mukdahan Special Economic Zone indicated that the foundation structure of domestic transportation, the innovation of logistics between government departments/ custom procedures within the province, the variety of logistic service providers, and the capacity of logistic service providers statistically significantly have great impact on the effectiveness of logistics management in Mukdahan Special Economic Zone at 0.05.

References

1. กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่. (2557). โซ่อุปทานสินค้า: แบบจำลองโซ่อุปทาน และโลจิสติกส์ ด่านชายแดนมุกดาหาร จังหวัดมุกดาหาร. กรุงเทพฯ: กรมอุตสาหกรรมพื้นฐานและการเหมืองแร่.
2. กาญจน์วจี ธนโชติรุ่งสาทิส. (2557). ประสิทธิภาพและประสิทธิผลของโลจิสติกส์ขนส่งข้าวไทย ในเส้นทางขนส่งจากจังหวัดนครสวรรค์-ส่งออกต่างประเทศ. (ออนไลน์). เข้าถึงเมื่อ ธันวาคม 2557 จาก http://www.dpu.ac.th/dpurc/assets/uploads/magazine/29qw5z5bdk9wo4csc0.pdf
3. สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา. (2557). รายงานสรุปเชิงนโยบาย โครงการวิจัย เรื่อง แนวทางและมาตรการเพื่อการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษบริเวณพื้นที่แนวชายแดนของไทย. กรุงเทพฯ: สถาบันระหว่างประเทศเพื่อการค้าและการพัฒนา. สำนักพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
4. สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. (2556). สถานการณ์โลจิสติกส์ของประเทศไทย และภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. เอกสารประกอบการประชุม ณ โรงแรมมุกดาหาร แกรนด์ จังหวัดมุกดาหาร วันที่ 29 พ.ค. 2556.
5. สำนักวิชาการ สำนักงานเลขาธิการสภาผู้แทนราษฎร. (2557, ธันวาคม). เขตเศรษฐกิจพิเศษ พื้นที่ชายแดนกับการรองรับ AEC. [ออนไลน์]. เข้าถึงได้จาก http://library2.parliament.go.th/giventake/ content_nrcinf/nrc2557-article10.pdf
6. Ballou, R. H. (1992). Business Logistics Management. London: Rentice-Hall Int.

Downloads

Published

2018-05-31

How to Cite

บุญทศ เ., & ศานติวรางคณา ด. (2018). ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลในการบริหารจัดการโลจิสติกส์ : ศึกษากรณีเขตเศรษฐกจิพิเศษมุกดาหาร. Pathumthani University Academic Journal, 10(1), 295–300. Retrieved from https://so05.tci-thaijo.org/index.php/ptujournal/article/view/182584