นักการเมืองที่สังคมไทยต้องการ จากการชุมนุมเรียกร้องของ กปปส.

ผู้แต่ง

  • วิเชษฐ์ เกษมทองศรี

คำสำคัญ:

นักการเมือง, ขบวนการเคลื่อนไหวทางสังคม, คณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตยที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข

บทคัดย่อ

ระยะเวลากว่าทศวรรษที่ผ่านมา สังคมไทยมีข้อเรียกร้องต่อนักการเมืองทั้งในด้านวิสัยทัศน์ ความรู้ ความสามารถ คุณธรรม และความรับผิดชอบต่อบ้านเมือง โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักการเมืองจะต้องไม่ทุจริตคอร์รัปชัน วิกฤตทางการเมืองไทยล้วนเป็นปัญหาที่มาจากนักการเมือง พรรคการเมือง จนนำไปสู่ความต้องการที่จะปฏิรูปการเมืองก่อนที่จะจัดให้มีการเลือกตั้ง บทความนี้ต้องการเสนอให้เห็นถึงพัฒนาการของความคาดหวังต่อนักการเมืองไทยในระยะเวลาที่ผ่านมา จนถึงข้อเรียกร้องของคณะกรรมการประชาชนเพื่อการเปลี่ยนแปลงประเทศไทยให้เป็นประชาธิปไตย ที่สมบูรณ์อันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข (กปปส.) ในฐานะตัวแสดงทางการเมืองสำคัญ ซึ่งถือเป็นตัวแทนของสังคมไทยที่มีบทบาทในการกำหนดทิศทางและโครงสร้างทางการปฏิรูปการเมืองไทยในปัจจุบัน   

References

หนังสือ
กองบรรณาธิการสำนักพิมพ์มติชน. เสียงนกหวีดปฏิวัติ. กรุงเทพฯ: มติชน, 2557.
เกษียร เตชะพีระ. บุชกับทักษิณ: ระบอบอำนาจนิยมขวาใหม่ไทย-อเมริกัน. กรุงเทพฯ: คบไฟ, 2547.
ชลธิรา สัตยาวัฒนา. ปรากฏการณ์พลังมวลมหาประชาชน.ปทุมธานี: มหาวิทยาลัยรังสิต, 2557
คริส เบเคอร์ และผาสุก พงษ์ไพจิตร. ประวัติศาสตร์ไทยร่วมสมัย. กรุงเทพฯ: มติชน, 2557.
ธีรภัทร์ เสรีรังสรรค์. นักการเมืองไทย: จริยธรรม ผลประโยชน์ทับซ้อน การคอร์รัปชัน สภาพปัญหา สาเหตุ ผลกระทบ แนวทางแก้ไข. กรุงเทพฯ: สายธาร, 2553.
นครินทร์ เมฆไตรรัตน์. พระผู้ทรงปกเกล้าฯ ประชาธิปไตย: 60 ปี สิริราชสมบัติกับการเมืองการปกครองไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2547.
ภูมิธรรม เวชยชัย และนพรัตน์ มุณีรัตน์. จากจังหวะคิดทักษิณ ชินวัตร สู่จังหวะก้าวพรรคไทยรักไทย. กรุงเทพฯ: แสงดาว, 2547.
พิชญ์ พงษ์สวัสดิ์. พิษทักษิณ. ทักษิณนิยม...(อีกที) Thaksinsim as Hegemonic Project (again). ในภิญโญ ไตรสุริยธรรมมา บรรณาธิการ. พิษทักษิณ: ผลกระทบเศรษฐกิจการเมืองและสังคมภายใต้ระบอบทักษิณ. กรุงเทพฯ: openbook, 2547.
รังสรรค์ ธนะพรพันธ์. จาก Thanksinomics สู่ทักษิณาธิปไตย ภาค 1-2. กรุงเทพฯ: openbook, 2548.
ลิขิต ธีรเวคิน. วิวัฒนาการการเมืองการปกครองไทย. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2554.
วิลเลียม เอ. คัลลาฮาน, ดาริน อินทร์เหมือน แปล. วาทกรรมเรื่องการซื้อเสียงและการปฏิรูปการเมืองในประเทศไทย.
ประจักษ์ ก้องกีรติ บรรณาธิการ. การเมืองว่าด้วยการเลือกตั้ง: วาทกรรม อำนาจ และพลวัตชนบทไทย. นนทบุรี: ฟ้าเดียวกัน, 2555.
สุภลักษณ์ กาญจนขุนดี. วิเคราะห์ระบอบสนธิ. ธนาพล อิ๋วสกุล บรรณาธิการ. รัฐประหาร 19 กันยา รัฐประหารเพื่อระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข. กรุงเทพฯ: ฟ้าเดียวกัน, 2549
เอนก เหล่าธรรมทัศน์. สองนคราประชาธิปไตย. กรุงเทพฯ: คบไฟ, 2556
อคิน รพีพัฒน์. ระบบอุปถัมภ์กับการเมืองไทย สมัยคิดใหม่ ทำใหม่ รู้ทันทักษิณ. เจิมศักดิ์ ปิ่นทอง บรรณาธิการ. รู้ทันทักษิณ. กรุงเทพฯ: ขอคิดด้วยคน, 2547
วารสารและหนังสือพิมพ์
ธิกานต์ ศรีนารา. “การผงาดขึ้นและการตกต่ำลงของกระแสความคิด “ประชาธิปไตยแบบรัฐสภา” ในการเมืองไทยยุค “หลัง พคท”, ฟ้าเดียวกัน. ปีที่ 11 ฉบับที่ 2. 242.
ธีรยุทธ บุญมี. “การปฏิวัตินกหวีด” มองเชื่อมโยงกับปัญหาอนาคตการเมือง”, ฟ้าเดียวกัน. ปีที่ 11 ฉบับที่ 3 , 75.
สามชาย ศรีสันต์. “ทักษิไณเซชั่น (Thaksinization) การกลายเป็นทักษิณ” มติชนรายวัน. 2 มกราคม 2549. หน้า 7

วิทยานิพนธ์ รายงานการวิจัย เอกสารวิจัยส่วนบุคคล
นพรัตน์ วงศ์วิทยาพาณิชย์. “การก่อเกิดรัฐบาลพรรคเดียวในการเมืองไทย: ศึกษากรณีพรรคไทยรักไทย”. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการปกครอง, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ปี 2550.
อุเชนทร์ เชียงเสน. “ประวัติศาสตร์การเมืองภาคประชาชน: ความคิดและปฏิบัติการของ “นักกิจกรรมทางการเมืองในปัจจุบัน”. วิทยานิพนธ์รัฐศาสตรมหาบัณฑิต, สาขาการปกครอง, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2555.
ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
เดลินิวส์. “กปปส.” ออกแถลงการณ์ ฉบับที่ 1 สั่ง ขรก. หยุดงานตั้งแต่ 2 ธ.ค.”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: http://www.dailynews.co.th/politics/198908: 2556
ไทยพีบีเอส. “ลำดับเหตุการณ์ชุมนุม จากสามเสนถึงปิดกรุงเทพฯ”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: http://news.thaipbs.or.th/content/ลำดับเหตุการณ์ชุมนุม-จากสามเสน-ถึงปิดกรุงเทพฯ: 2557.
ประชาไท. “สุเทพอัดระบอบทักษิณใช้วาทะ "ไพร่-อำมาตย์"-คิดแยกประเทศตั้งเมืองหลวงเชียงราย”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: http://www.prachatai.com/journal/2014/05/53214: 2557
ประชาไท. “กปปส. เสนอ กมธ.ร่างรัฐธรรมนูญ-เลิกปาร์ตี้ลิสต์-ซื้อขายเสียงเพิกถอนสิทธิตลอดชีพ”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : http://www.prachatai.com/journal/2014/11/56687: 2557
ผู้จัดการออนไลน์. ตั้ง "สมัชชาคุณธรรมแห่งชาติ" คุมประพฤตินักการเมือง”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: http://www.manager.co.th/AstvWeekend/ViewNews.aspx?News ID= 9580000003258: 2558
ศูนย์ข้อมูลการเมืองไทย. “กลุ่มงูเห่า”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก: http://politicalbase.in.th/index.php/กลุ่มงูเห่า 2558.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2019-05-13