แนวคิดในการแบ่งขอบเขตภารกิจ ด้านสารสนเทศและด้านไซเบอร์
คำสำคัญ:
ขอบเขตภารกิจ, ระบบสารสนเทศ, ภัยคุกคามทางไซเบอร์, แบบจำลอง OSIบทคัดย่อ
จากการพัฒนาทางด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารอย่างก้าวกระโดด แม้ว่าจะนำมาซึ่งความเจริญก้าวหน้าและความสะดวกสบายในการดำเนินชีวิตและการประกอบอาชีพ แต่สิ่งที่แฝงมาด้วยคือภัยคุกคามจากผู้ไม่ประสงค์ดี กระทรวงกลาโหมตระหนักถึงความสำคัญในส่วนนี้ จึงมีนโยบายให้กองทัพไทยจัดตั้งหน่วยงานขึ้นรับผิดชอบทางด้านไซเบอร์เป็นการเฉพาะ สำหรับกองทัพบกได้อนุมัติจัดตั้งศูนย์ไซเบอร์กองทัพบก โดยการแปรสภาพหน่วยศูนย์เทคโนโลยีทางทหาร แต่ด้วยขอบเขตภารกิจที่ยังไม่ชัดเจน ทำให้การดำเนินงานยังไม่เป็นไปตามเป้าประสงค์ บทความนี้เป็นการเสนอแนวคิดในการแบ่งขอบเขตภารกิจระหว่างหน่วยที่รับผิดชอบงานด้านสารสนเทศกับงานด้านไซเบอร์ เพื่อให้กระบวนการทำงานมีประสิทธิภาพและรวดเร็วยิ่งขึ้น
References
กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม. “การประชุมแนวนโยบายการปกป้องโครงสร้างพื้นฐานสำคัญทางสารสนเทศของประเทศ”. (เอกสารประกอบการประชุมแนวนโยบายการปกป้องโครงสร้างพื้นฐานสำคัญทางสารสนเทศของประเทศ. 2561).
ศูนย์ไซเบอร์กองทัพบก. “ประวัติศูนย์ไซเบอร์กองทัพบก”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https:// cyber.rta.mi.th/about.php, 2559.
“Multitier architecture”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://en.wikipedia.org/wiki/Multitier _architecture, 2561.
ธีระยุทธ ทองเครือ. “สถาปัตยกรรมเว็บเซอร์วิส”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://dev.cs.kku.ac.th/ ws/slide/chapter%201.pdf, 2561.
อดิศยา เจริญผล. “Network Model”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : http://www.ict.up.ac.th/ adisayac/ 231341/Network%20Model.pdf, 2561.
จตุชัย แพงจันทร์, อนุโชต วุฒิพรพงษ์ และ อรรณพ ขันธิกุล, บรรณาธิการ. เจาะระบบ Network 2nd Edition. (นนทบุรี : ไอดีซี อินโฟ ดิสทริบิวเตอร์ เซ็นเตอร์, 2551). หน้า 39-47.
Lee Hazell. “Network Vulnerabilities and the OSI Model”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https:// cybersecuritynews.co.uk/network-vulnerabilities-and-the-osi-model, 2557.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
บทความ ข้อเขียน หรือความคิดเห็นในนิตยสารนี้เป็นของผู้เขียน ไม่ผูกพันกับวิทยาลัย ป้องกันราชอาณาจักรและทางราชการแต่อย่างใด