แแนวทางการลดก๊าซเรือนกระจกในประเทศไทยผ่านกลไกการกำหนดราคาคาร์บอน
คำสำคัญ:
ก๊าซเรือนกระจก, การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ, การกำหนดราคาคาร์บอน, ภาษีคาร์บอน, การซื้อขายสิทธิในการปล่อยก๊าซเรือนกระจกบทคัดย่อ
ก๊าซเรือนกระจกเป็นสาเหตุสำคัญของสภาวะการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ และโลกร้อนซึ่งส่งผลกระทบร้ายแรงต่อสิ่งมีชีวิตและทรัพย์สิน ตั้งแต่ การละลายของธารน้ำแข็ง ระดับน้ำทะเลเพิ่มสูง การผันผวนของฤดูกาล ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ไปจนถึงการเปลี่ยนแปลงของระบบนิเวศ หนึ่งในนโยบายสำคัญเพื่อลดก๊าซเรือนกระจกคือ การกำหนดราคาคาร์บอน ทั้งนโยบายภาษีคาร์บอน หรือการซื้อขายสิทธิในการปล่อยก๊าซเรือนกระจก เพื่อปรับราคาตลาดของสินค้าและบริการให้สะท้อนต้นทุนของผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และกระตุ้นให้เกิดการลดก๊าซเรือนกระจก ซึ่งปัจจุบันมีกว่า 30 ประเทศทั่วโลกที่เริ่มใช้แล้วอย่างเป็นทางการ ส่วนประเทศไทยเองยังอยู่ในระหว่างการพัฒนานโยบายดังกล่าว ผู้วิจัยจึงต้องการศึกษาแนวคิดและนโยบายของกลไกการกำหนดราคาคาร์บอนจากประเทศต่างๆ เพื่อให้เกิดองค์ความรู้และนำเสนอเป็นแนวทางในการพัฒนากลไกการกำหนดราคาคาร์บอนให้เหมาะสมกับบริบทของประเทศไทย โดยผู้วิจัยเสนอการพัฒนาระบบและบังคับใช้เป็นสามระยะ คือ ระยะต้น เน้นการสร้างรากฐาน พัฒนากลไกราคาคาร์บอนและสร้างความตระหนักรู้ให้กับภาครัฐ และภาคเอกชน ระยะกลาง เริ่มใช้กลไกกำหนดราคาคาร์บอนกับอุตสาหกรรมเป้าหมาย รวมไปถึงการจัดทำมาตรการรองรับผลกระทบต่อผู้มีรายได้น้อยและความสามารถในการแข่งขัน และระยะยาว ได้แก่ การขยายขอบเขตการใช้กลไกกำหนดราคาคาร์บอนกับภาคอุตสาหกรรมอื่นๆ และการผลักดันการร่วมมือระหว่างประเทศเพื่อจัดทำมาตรการทางการเงินร่วมกัน เพื่อให้ประเทศสามารถบรรลุเป้าหมายในการลดก๊าซเรือนกระจกและส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจคาร์บอนต่ำที่ยั่งยืนภายในปี ค.ศ. 2065 ได้
References
การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและสิ่งแวดล้อม, กรม. “COP 28 Debrief: สรุปผลการประชุมรัฐภาคีกรอบอนุสัญญาสหประชาชาติ”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://www.facebook.com/dcceth/videos/1085413659146135/, 2023.
ธนาคารกรุงเทพ. “กรณีศึกษา ธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจาก ภาษีคาร์บอน กับโอกาสในวิกฤตธุรกิจที่ปรับตัวได้ ไปต่ออย่างยั่งยืน (PART 2)” (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://www.bangkokbanksme.com/en/us-cbam, 2566.
ปฐม ชัยพฤกษทล, ผู้จัดการสำนักส่งเสริมตลาดคาร์บอนและนวัตกรรม. บรรยายเรื่อง “สัมนากลไกราคาคาร์บอน (Carbon Pricing) และความก้าวหน้าในประเทศไทย”, สิงหาคม 2022.
พัฒนาพลังงานทดแทนและอนุรักษ์พลังงาน, กรม, กระทรวงพลังงาน. “Southeast Asia faces uphill battle in CCUS deployment without carbon pricing”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://webkc.dede.go.th/testmax/node/6213, 2565.
รัฐบาลไทย. “พัชรวาท ขึ้นกล่าวถ้อยแถลงในเวที COP28 ย้ำ ถึงเวลาที่ทุกคนต้องร่วมกันลงมือทำ เพื่อให้ลูกหลานของเรามีโลกใบนี้ได้อยู่อาศัยต่อไป”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/75920, 2023.
สำนักงานคณะกรรมการกำกับหลักทรัพย์และตลาดหลักทรัพย์. “มาตรการปรับคาร์บอนก่อนเข้าพรมแดน (CBAM) ของสหภาพยุโรป และผลกระทบต่อธุรกิจในประเทศไทย”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://www.sec.or.th/TH/Template3/Articles/2566/220866.pdf, 2023.
สำนักงานนโยบายและแผนพลังงาน กระทรวงพลังงาน. “การปล่อยก๊าซ CO2”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://www.eppo.go.th/index.php/th/graph-analysis/item/19298-news-170366-01, 2023.
องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก. “ปริมาณและมูลค่าการซื้อขายคาร์บอนเครดิตจากโครงการ T-VER”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://carbonmarket.tgo.or.th/, 2024.
องค์การบริหารจัดการก๊าซเรือนกระจก. “หลักการและกรอบแนวคิดของระบบการซื้อขายสิทธิในการปล่อยก๊าซเรือนกระจก”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://carbonmarket.tgo.or.th/index.php?lang=TH&mod=Y29uY2VwdF90cmFkZQ==, 2023.
Diego R. Känzig et al.. “Climate Policy and the Economy: Evidence from Europe’s Carbon Pricing Initiatives”. United States : National Bureau of Economic Research, 2023.
I4CE Institute for Climate Economics. “Global Carbon Accounts in 2023”. (Online). Available : https://www.i4ce.org/en/publication/global-carbon-accounts-2023-climate/#:~:text=74%20As%20of%20 August%201st, interstate %20 level%20(EU%20ETS, 2023.
Influence Map. “GX (Green Transformation) Basic Policy and Roadmap”. (Online). Available : https://japan.influencemap.org/policy/GX-Green-Transformation-5477, 2023.
Institute for Climate Economics. “GLOBAL CARBON ACCOUNTS IN 2023”. (Online). Available : https://www.i4ce.org/en/publication/global-carbon-accounts-2023-climate/#:~:text=74%20As%20of%20August%201st,interstate%20 level %20(EU%20ETS), 2023.
Legislative Analyst’s Office (LAO). “California’s Cap-and-Trade Program Frequently Asked Questions”. (Online). Available: https://globalcompact-th.com/news/detail/103 4?fbclid =IwAR252HAz9MMoud9Nsb0kSq1zAMBUq4x97C3zjT_HILEN71qJMwWX9 OuzFI, 2023.
LRQA. “การทวนสอบรายงานการปล่อยก๊าซเรือนกระจก”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://www.lrqa.com/, 2023.
Marek Antosiewicz et al. “Distributional Effects of Emission Pricing in a Carbon-Intensive Economy: The Case of Poland”. Poland : ScienceDirect, 2022.
National Climate Change Secretary Singapore. “Carbon Tax”. (Online). Available : https://www.nccs.gov.sg/singapores-climate-action/mitigation-efforts/carbontax/, 2023.
Research & Innovation for Sustainability Center (RISC). ”Carbon Pricing คืออะไร แล้วทำไมคาร์บอนไดออกไซด์ถึงต้องมีราคา?”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://risc.in.th/th/knowledge/, 2023.
SDG Move. “ปิดฉากการประชุม COP28 ชวนสำรวจบทสรุป ข้อตกลงลดการใช้ ‘เชื้อเพลิงฟอสซิล’ ที่ต้องจับตามอง”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://www.sdgmove.com/2023/12/20/cop28-climate-change-conference-2023, 2023.
TGO. “ราคาคาร์บอนเครดิต”. (Online). Available: carbonmarket.tgo.or.th/index.php?lang= TH&mod= Y2hhcnQ =&action=bGlzdA==, 2024.
Thailand Development Research Institute (TDRI). “Transforming Thailand into a Low-Carbon Economy and Society”. (Online). Available: https://tdri.or.th/en/2023/10/transform ing-thailand-into-a-low-carbon-economy-and-society/, 2023.
UN Global Compact Network Thailand. “ทำความเข้าใจ “เครื่องมือทางเศรษฐศาสตร์” เพื่อสร้างข้อได้เปรียบทางธุรกิจ ในวันที่ใครปล่อยก๊าซเรือนกระจกมาก ยิ่งต้องจ่ายภาษีมาก”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://globalcompact-th.com/news/detail/ 1034?fbclid=IwAR252HAz9MMo-ud9Nsb0kSq1zAMBUq4x97C3zjT_ HILEN 71qJMwWX9OuzFI, 2022.
UOB Asset Management. “ภาษีคาร์บอน ‘Carbon Tax’ ระเบียบการค้าของโลกยุคใหม่”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://www.uobam.co.th/th/publication/download/305, 2023.
World Bank. “Carbon Pricing Dashboard”. (Online). Available : https://carbonpricingdashboard.worldbank.org/map_data, 2023.
World Bank. “Imports of goods and services (% of GDP)”. (Online). Available : https://data.worldbank.org/indicator/NE.IMP.GNFS.ZS?locations=TH, 2022.
World Economic Forum. “Carbon pricing is effective in reducing emissions, largest-ever study finds”. (Online). Available: https://www.weforum.org/agenda/2020/09/carbon-pricing-study-emissions-global-warming-climate-change/, 2020.
Downloads
เผยแพร่แล้ว
ฉบับ
บท
License
Copyright (c) 2024 รัฏฐาภิรักษ์
This work is licensed under a Creative Commons Attribution-NonCommercial-NoDerivatives 4.0 International License.
บทความ ข้อเขียน หรือความคิดเห็นในนิตยสารนี้เป็นของผู้เขียน ไม่ผูกพันกับวิทยาลัย ป้องกันราชอาณาจักรและทางราชการแต่อย่างใด