การเตรียมความพร้อมสู่การเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของอาเซียน กรณีการค้าชายแดนของประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • ดิเรก คชารักษ์ สำนักงานศุลกากร ภาคที่ ๓

คำสำคัญ:

การค้าชายแดน, ศูนย์กลางโลจิสติกส์ของอาเซียน, เส้นทางเศรษฐกิจสายอาเซียน

บทคัดย่อ

ประเทศไทยมีที่ตั้งอยู่กลางภูมิภาคอาเซียนและมีพรมแดนติดกับประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ เมียนมา สปป.ลาว กัมพูชา และมาเลเซีย จึงมีศักยภาพที่จะพัฒนาเป็นศูนย์กลางเชื่อมโยงด้านขนส่งและระบบโลจิสติกส์ของอาเซียนได้ ซึ่งจะช่วยส่งเสริมกิจกรรมทางเศรษฐกิจในภูมิภาค โดยเฉพาะอย่างยิ่ง การค้าชายแดนที่มีบทบาทสำคัญเพิ่มขึ้นในปัจจุบันและมีศักยภาพขยายตัวต่อเนื่องในอนาคต บทความนี้จึงมีวัตถุประสงค์เพื่อนำเสนอปัจจัยสำคัญที่ส่งผลต่อการค้าชายแดนและปัจจัยสู่ความสำเร็จเพื่อส่งเสริมมาตรฐานโลจิสติกส์ โดยนำหลักการและแนวคิดมาปรับใช้กับยุทธศาสตร์และแผนที่ตั้งไว้ เพื่อการเตรียมความพร้อมสู่การเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของอาเซียน

References

กสิกรไทย, ศูนย์วิจัย. “คาดค้าชายแดนไทยปี’64 ฝ่าวิกฤตเติบโตกว่า 28%... ตลาดจีนตอนใต้ขึ้นแท่นอันดับ 1 เป็นครั้งแรก”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://www.kasikornresearch.com/

th/analysis/k-econ/economy/Pages/Border-Trade-z3271.aspx, 2564.

การค้าต่างประเทศ, กรม. คำนิยามการค้าชายแดน/ผ่านแดน. กรุงเทพฯ : กองความร่วมมือการค้าและการลงทุน, มกราคม 2563.

กิตติ สุทธิสัมพันธ์. “การพัฒนาการค้าชายแดนเพื่อสนับสนุนเขตเศรษฐกิจพิเศษของประเทศไทย”. กรุงเทพฯ: วิทยาลัยป้องกันราชอาณาจักร, 2560.

จักรกฤษณ์ ดวงพัสตรา. “การพัฒนาศักยภาพผู้ให้บริการโลจิสติกส์ไทยสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน”. วารสารวิทยาการจัดการ. ปีที่ 32(2), กรกฎาคม - ธันวาคม 2556. หน้า 95.

จับกระแสธุรกิจ, สถานีโทรทัศน์ทีเอ็นเอ็น. “ค้าชายแดนทำสถิติใหม่โตเป็นประวัติการณ์”. กรุงเทพมหานคร, 7 มกราคม 2565.

ธนิต โสรัตน์. “ไทยกับโอกาสการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ในอนุภูมิภาคลุ่มน้ำโขง”. วิทยานิพนธ์ปริญญาเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต คณะเศรษฐศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548.

พงศ์เทพ บัวทรัพย์. “การจัดระเบียบ/การบริหารจัดการพื้นที่ด่านพรมแดนและการจัดตั้งศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จ (One Stop Service)”. คณะทำงานกำหนดแนวทางการจัดระเบียบ/การบริหารจัดการพื้นที่ด่านพรมแดนและการการจัดตั้งศูนย์บริการแบบเบ็ดเสร็จ (One Stop Service): กรมศุลกากร, 2561.

พัชรินทร์ รักสัตย์. “ผลกระทบของระเบียงเศรษฐกิจตะวันออก-ตะวันตกต่อการกระจายรายได้และความเป็นอยู่ของประชาชนในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ: กรณีศึกษาจังหวัดมุกดาหาร”. วิทยานิพนธ์ปริญญาเศรษฐศาสตร์มหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2557.

เทพรักษ์ สุริฝ่าย และ ลำปาง แม่นมาตย์. “บทบาทการค้าชายแดนในการพัฒนาเศรษฐกิจชุมชน กรณีศึกษาจังหวัดหนองคาย จังหวัดนครพนม และจังหวัดมุกดาหาร”. วารสารการเมืองการปกครอง. 8(1), มกราคม - เมษายน 2561. หน้า 153.

วิภวานี เผือกบัวขาว. “การกำหนดนโยบายส่งเสริมการค้าชายแดนไทย - เมียนมา จังหวัดประจวบคีรีขันธ์”. Veridian E-Journal, Silpakorn University. 10(3), กันยายน – ธันวาคม 2560, หน้า 68-69.

ศุภกิจ รูปสุวรรณกุล. “กลยุทธ์การจัดการเพื่อการพัฒนาการค้าชายแดนไทย-เมียนมา”. วิทยานิพนธ์ปริญญาปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการ บัณฑิตวิทยาลัย, มหาวิทยาลัยนอร์ทกรุงเทพ, 2564.

ศูนย์ประมวลข้อมูลการข่าวทางศุลกากร. “การค้าชายแดน”. ส่วนวิเคราะห์และติดตามการจัดเก็บภาษีอากร. ปี 2560-กรกฎาคม 2565.

เศรษฐกาณฑ์ เตชะธนนันทวงศ์. “ตัวแบบจำลองความต้องการบริการโลจิสติกส์”. วิทยานิพนธ์ปริญญาวิทยาศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการจัดการด้านโลจิสติกส์. บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2548.

ศิริสุดา แสนอิว. “บทบาทของตัวแสดงภายในประเทศที่ไม่ใช่รัฐกับนโยบายด้านเศรษฐกิจของไทยต่อลาว”. วิทยานิพนธ์ปริญญารัฐศาสตรดุษฎีบัณฑิต คณะรัฐศาสตร์, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2561.

สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, สำนักงาน. “การค้าชายแดนและการค้าผ่านแดนกับประเทศเพื่อนบ้าน”. กองยุทธศาสตร์การพัฒนาพื้นที่. 2564.

สิริรัฐ สุกันธา. “การบริหารจัดการการค้าชายแดนในเขตภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย”. วารสารศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ วิทยาเขตหาดใหญ่. 8(1), มกราคม – มิถุนายน 2559. หน้า 222.

สุภานี นวกุล และศาศวัต เพ่งแพ. “บทบาทภาครัฐในการสร้างความเข้มแข็งให้ไทยเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของอาเซียน. วารสารจันทรเกษมสาร. 22(42), มกราคม – มิถุนายน 2559.

สุรีย์ฉาย สุคันธรัต และนวรัตน์ นิธิชัยอนันต์. “การพัฒนาตลาดการค้าชายแดนช่องจอม จังหวัดสุรินทร์”. วารสารศรีวนาลัยวิจัย. 10(1), มกราคม - มิถุนายน 2563. หน้า 53.

อภิญญา พงษ์ปรีชา และธนัญญา วสุศรี. “การศึกษาปัจจัยของการเป็นศูนย์กลางโลจิสติกส์ของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้”. วารสารสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. 22(1), มกราคม – มิถุนายน 2562. หน้า 152.

อาเซียนศึกษา. “ปัญหาการค้าชายแดน”. (ออนไลน์). เข้าถึงได้จาก : https://sites.google.com/site/

xaseiynsuksa/home, 2558.

World Bank. “LPI Global Rankings”. (Online). Available: https://lpi.worldbank.org/

international/global, 2022.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-11-20