ยุทธศาสตร์การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดเป็นของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา (Strategy Learning Management to Develop Kid-Pen Process of Student Primary School)

ผู้แต่ง

  • สุรภา นิลยกานนท์ (Surapa Ninyakanon) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร
  • คณิต เขียววิชัย (Kanit Kheovichai)

คำสำคัญ:

คำสำคัญ : ยุทธศาสตร์/ การจัดการเรียนรู้/ กระบวนการคิดเป็น/ นักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา

บทคัดย่อ

การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสมผสาน คือ การสัมภาษณ์ผู้เชี่ยวชาญ แบบสอบถาม และตรวจสอบแผนยุทธศาสตร์โดยการประชุมผู้ทรงคุณวุฒิ ประชากรและกลุ่มตัวอย่างคือผู้บริหารจำนวน 8 คน พนักงานครูใน 4 โรงเรียน จำนวน 98 คน รวม 106 คน ผลการวิจัยพบว่า (1) สภาพปัญหาความต้องการและแนวทางในการพัฒนากระบวนการคิดเป็นของนักเรียนระดับประถมศึกษา   ควรฝึกทักษะการคิดเป็นในกิจกรรมการเรียนการสอนเน้นการปฏิบัติจริง (2) สภาพแวดล้อมภายใน   และภายนอกที่ส่งผลต่อกระบวนการคิดเป็นของนักเรียนระดับประถมศึกษาให้รู้จักการแก้ปัญหาโดยนำข้อมูลส่วนตัว ข้อมูลทางสังคมหรือสิ่งแวดล้อมและข้อมูลทางวิชาการมาประกอบการคิดตัดสินใจ  (3) ยุทธศาสตร์การจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนากระบวนการคิดเป็นของนักเรียนระดับชั้นประถมศึกษา  มี 5 ยุทธศาสตร์ คือ ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างทักษะการคิดสื่อความหมาย ,ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงระบบ ,ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงวิเคราะห์,ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างทักษะทักษะการคิดสร้างสรรค์, ยุทธศาสตร์การเสริมสร้างทักษะการคิดเชิงจริยธรรม

 

References

Angsuchot, S., Pinyopanuwat, R. (2018). “Synthesis of Results of the Third External
Quality Assessment (B.E. 2554-2558) of the General Basic Education Schools at Primary and Secondary Level”. Electronic Journal of Open and Distance Innovative Learning (e-JODIL). 8 (2) :183. (in Thai)
Barak, M. (2012). Systematic Inventive Thinking an : Approach to Problem Solving.
[Online].Retrieved April 24, 2012, From https://www.seconarydandt.org/filelibrary/pdf/moshebarak.pdf.
Best, J. W. (1977). Research in Education. 3rd ed. New Jersey Prentice Hall Inc.
Charoenrat, J., Nillapun, M. (2014). “The Development of Analytical Thinking Ability and
Science Process Skills for Ninth Grade Students Taught by Project Approach”. Silpakorn Educational Research Journal 6 (2):182. (in Thai)
Chinnapong, P. (2009). Kid pen : Necessary Skills for Today’s World. [Online].
Retrieved May 29, 2517. from https://www.islammore.com/view/1647.
Chitrakorn, A. (2016). “Arts-Based Learning to Enhance Creativity of Learners in 21st
Century”. Journal of Education, Silpakorn University 14 (1):60. (in Thai)
Cronbach, Lee. (1974). Essentials of psychology Testing, 3rd ed. New York : Harper &
Row Publishers.
Kamtun, A., Chantaranamchoo, N. (2012). “Self Practice on Morals, Ethics and Desirable
Values of Secondary School Students in Nakhon Pathom Province”. Silpakorn Educational Research Journal 4 (2):251. (in Thai)
Krejcie, R., Morgan, D. (1970). “Determining Sampling Size for Research Activities”.
Journal of Education and Psychological Measurement, 10(11): 308.
Likert, R. (1967). The Method of Constructing and Attitude Scale. In Reading
in Fishbeic, M (Ed.), Attitude Theory and Measurement (pp. 90-95). New York: Wiley & Son.
Ministry of Education.(2008). Core Basic Education Curriculum B.E.2551. Bangkok: The
Teachers' Council of Thailand. (in Thai)
Moudnum, P., Uamcharoen, S. (2014). “The Development of System Thinking Ability for
Writing Using Graphic Organizer for Grade 6 Students”. Silpakorn Educational Research Journal 6 (2):195. (in Thai)

เผยแพร่แล้ว

2020-01-25

ฉบับ

บท

บทความวิจัย