การสังเคราะห์ระบบและแนวทางการปฏิรูปการพัฒนาวิชาชีพครู : จากแนวคิดการเรียนรู้เชิงวิชาชีพสู่การปฏิบัติ (A Synthesis of Systems and Approaches to Reforming the Teacher Professional Development : Transforming Conceptions of Professional Learning to Practices)
คำสำคัญ:
วิชาชีพครู/ การเรียนรู้เชิงวิชาชีพ/ ระบบการพัฒนาวิชาชีพบทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์และสังเคราะห์ระบบการพัฒนาวิชาชีพครูโดยใช้แนวคิดการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ และพัฒนาข้อเสนอเชิงนโยบายและการนำสู่การปฏิบัติในการปรับปรุงระบบการฝึกหัดครูและพัฒนาวิชาชีพครูของประเทศไทย ระเบียบวิธีวิจัยที่ใช้เป็นการวิจัยเอกสารและใช้วิธีการวิเคราะห์เนื้อหาสาระเพื่อสร้างข้อสรุประบบใน 5 ประเด็นคือ ระบบในปัจจุบัน องค์ความรู้ที่มี ต้นแบบที่ดีจากประเทศที่มีคุณภาพผลลัพธ์ทางการศึกษาในระดับสูง ข้อเสนอจากหน่วยงานต่างๆ และระบบที่ควรจะเป็น ผลการวิจัยพบว่า ระบบการพัฒนาวิชาชีพครูมี 13 ระบบย่อยใน 6 ช่วงวัยของวิชาชีพต้องได้รับการปรับปรุงคุณภาพของระบบอย่างเร่งด่วน เพื่อให้ยกระดับคุณภาพครูของไทยให้สามารถเทียบเคียงคุณภาพการศึกษากับประเทศต่างๆ ได้ และต้องพัฒนาเพื่อยกระดับการปฏิบัติงานของผู้เกี่ยวข้องในทุกระบบไปพร้อมๆ กัน
References
สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI). (2557). การปฏิรูปอาชีวศึกษาของประเทศไทย, กรุงเทพ: สถาบันวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.
สถาบันการวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI). (2559). รายงานชุดการปฏิรูประบบบุคลากรครู: ข้อเสนอการสร้างและคัดเลือกครูสอนดีรุ่นใหม่สู่การยกระดับคุณภาพการศึกษา. กรุงเทพฯ: โครงการจัดตั้งสถาบันวิจัย ระบบการเรียนรู้ สถาบันการวิจัยเพื่อการพัฒนาประเทศไทย.
สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. https://pisathailand.ipst.ac.th/pisa/focus/issue-2017-17. (สืบค้นเมื่อ 12 มิถุนายน 2562)
สาโรช บัวศรี. (2535). รากแก้วการศึกษา. กรุงเทพฯ: กองทุนหนังสือประเทืองปัญญา มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา. (2558). สถานภาพการผลิตและพัฒนาครูในประเทศไทย. กรุงเทพฯ : สํานัก มาตรฐานการศึกษาและพัฒนาการเรียนรู้ สํานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ.
อุทุมพร จามรมาน. (2531). การวิเคราะหขอมูลเชิงคุณลักษณะ. เลมท่ี 4. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย
Atkin, C., Pearson, E., Thompson, S., & Sharp, J. (2016). Thailand Rajabhat Initial Teacher Education Project. Paper presented to Ministry of Education Thailand.
Barber, M. and M. Mourshed (2007), How the World’s Best Performing Schools Come out on Top, McKinsey & Company, London, https://mcki nseyonsociety.com/downloads/reports/Education/W orlds_School_Syst ems_Final.pdf (accessed 27 January 2015).
Darling-Hammond, L., Hyler, M. E., Gardner, M. (2017). Effective Teacher Professional Development. Palo Alto, CA: Learning Policy Institute. https://learningpolicyinstitute.org/product/teacher-prof-dev.
European Commission. (2013). Supporting Teacher Educators for Better Learning Outcome. Brussel: European Commission Staff Working Document SEC Final.
Jensen, B., A. Hunter, J. Sonnemann and T. Burns (2012), Catching Up: Learning from the Best School Systems in East Asia, Grattan Institute, Carlton, Australia, https://grattan.edu.au/wp-content/uploads/2014/04/1 29_report_learning_from_the_best_main.pdf (accessed 23 January 2015).
Krippendorff, K. (1980). Validity in content analysis. In E. Mochmann (Ed.), Computerstrategien für die kommunikationsanalyse (pp. 69-112).
OECD (2014a), Education at a Glance 2014: OECD Indicators, OECD Publishing, Paris, https://dx.doi.org/10.1787/eag-2014-en.
OECD (2014b), “Structural policy country notes: Thailand”, in Economic Outlook for Southeast Asia, China and India 2014: Beyond the Middle- Income Trap, OECD Publishing, Paris, https://dx.doi.org/10.1787/saeo- 2014-en.
OECD/UNESCO (2016), Education in Thailand: An OECD-UNESCO Perspective, Reviews of National Policies for Education, OECD Publishing, Paris. https://dx.doi.org/10.1787/9789264259119-en
QLF (2014), Research on Teacher Workload, 2014, Quality Learning Foundation, Bangkok.
Schleicher, A. (ed.) (2012), Preparing Teachers and Developing School Leaders for the 21 Century: Lessons from Around the World, International Summit on the Teaching Profession, OECD Publishing, Paris, https://dx.doi.org/10.1787/9789264174559-en.