การพัฒนากระบวนทัศน์การสอนและการเรียนรู้เพื่อส่งเสริม ทักษะการคิดขั้นสูง ในยุคการศึกษา 4.0 ของนักศึกษาวิชาชีพครู (The Development of a Teaching and Learning Paradigm That Promotes Higher-Order Thinking Skills in the Age of Education 4.0 Among Education Students)

ผู้แต่ง

  • พิจิตรา ธงพานิช (Phichittra Thongpanit) คณะครุศาสตร์

คำสำคัญ:

กระบวนทัศน์การเรียนรู้, ทักษะการคิดขั้นสูง ในยุคการศึกษา 4.0, Learning Paradigm, Higher-order Thinking Skills in the Age of Education 4.0

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

วัตถุประสงค์ของวิจัยเพื่อ 1) พัฒนากระบวนทัศน์การเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดขั้นสูงในยุคการศึกษา 4.0 2) เปรียบเทียบผลการเรียนรู้ วิชาการพัฒนาหลักสูตรก่อนและหลังการจัดการเรียนรู้ตามกระบวนทัศน์การเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดขั้นสูง ในยุคการศึกษา 4.0         3) ศึกษาความสามารถในการพัฒนาหลักสูตร และ4) สอบถามความคิดเห็นของนักศึกษาที่มีต่อการจัดการเรียนรู้ตามกระบวนทัศน์การเรียนรู้ กลุ่มตัวอย่าง ได้แก่ นักศึกษาปริญญาตรี สาขาวิชาการศึกษาปฐมวัย คณะครุศาสตร์  มหาวิทยาลัยนครพนม ปีการศึกษา 2561 จำนวน 28 คนได้มาโดยการสุ่มแบบกลุ่ม   เครื่องมือวิจัยได้แก่ แบบทดสอบความรู้ แบบสอบถาม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการวิเคราะห์ค่าความถี่ ค่าร้อยละ และการทดสอบค่าที  ผลการวิจัย พบว่า

  1. 1. กระบวนทัศน์การเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะการคิดขั้นสูงในยุคการศึกษา 0 มี                    3 ขั้นตอน ดังนี้ 1) การวิเคราะห์ความต้องการในการการเรียนรู้  ได้แก่ การกำหนดจุดมุ่งหมายการเรียนรู้ และการกำหนดระดับคุณภาพของการเรียนรู้ในรูปแบบของภาระงาน 2) การปฏิบัติการเรียนรู้  ได้แก่ คือ  การออกแบบการเรียนรู้หรือเลือกกลยุทธ์ในการเรียนรู้  การพัฒนาทักษะการเรียนรู้แบบนำตนเอง และการบูรณาการความรู้อาศัยความร่วมมือกัน 3) การประเมินการเรียนรู้ ได้แก่ คือ การตรวจสอบแบบย้อนคิดทบทวน และการประเมินความรู้เปรียบเทียบกับมาตรฐาน  กระบวนทัศน์การเรียนรู้ที่พัฒนาขึ้น มีประสิทธิภาพตามเกณฑ์ 80/80 ได้ค่าประสิทธิภาพ E1/ E2 = 80.95 / 81.36 และมีค่าดัชนีประสิทธิผล (Effectiveness Index ;E.I ) ตามเกณฑ์สูงกว่า 0.5 ได้ค่า E.I = 0.63
  2. การเปรียบเทียบผลการเรียนรู้ วิชาการพัฒนาหลักสูตร พบว่าคะแนนเฉลี่ยหลังเรียนสูงกว่าคะแนนเฉลี่ยก่อนเรียนอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติที่ระดับ.01
  3. นักศึกษามีความสามารถในการพัฒนาหลักสูตร อยู่ในระดับดี
  4. นักศึกษามีความคิดเห็นต่อการจัดการเรียนรู้ เห็นด้วยอยู่ในระดับมากทุกข้   

     

Author Biography

พิจิตรา ธงพานิช (Phichittra Thongpanit), คณะครุศาสตร์

ประวัติ

ผู้ช่วยศาสตราจารย์  ดร.พิจิตรา  ธงพานิช

  1. หน่วยงานที่สังกัด คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม
  2. ตำแหน่งปัจจุบัน ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ประจำหลักสูตรครุศาสตรมหาบัณฑิต  สาขาวิชาหลักสูตรและนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้  คณะครุศาสตร์  มหาวิทยาลัยนครพนม    
  3. คุณวุฒิ

ระดับปริญญา

สาขาวิชา

ปีที่สำเร็จ

สถาบันที่สำเร็จการศึกษา

ปรัชญาดุษฏีบัณฑิต (ปร.ด.)

หลักสูตรและการสอน

   2557

มหาวิทยาลัยศิลปากร

ครุศาสตรมหาบัณฑิต (ค.ม.)

หลักสูตรและการสอน

   2549

มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร

ประกาศนียบัตรวิชาชีพครู(ปวค.) 

ภาษาไทย

   2545

มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย

ศิลปศาสตรบัณฑิต (ศศ.บ.) 

ภาษาไทย

   2544

มหาวิทยาลัยมหาสารคาม

 

  1. ประวัติการทำงาน

ปี  พ.ศ.

ตำแหน่ง

สถานที่ทำงาน

พ.ศ. 2561

อาจารย์

คณะครุศาสตร์  มหาวิทยาลัยนครพนม

พ.ศ. 2560 - 2561

รองคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

บัณฑิตวิทยาลัย  มหาวิทยาลัยนครพนม

พ.ศ. 2560 - 2561

กรรมการการพิจารณาการขอกำหนดตำแหน่งทางวิชาการ

งานการเจ้าหน้าที่  มหาวิทยาลัยนครพนม

พ.ศ. 2560

รองผู้อำนวยการโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยนครพนม พนมพิทยพัฒน์

โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยนครพนม พนมพิทยพัฒน์  มหาวิทยาลัยนครพนม

พ.ศ. 2559 – 2561

กรรมการสภาวิชาการมหาวิทยาลัยนครพนม

สำนักงานอธิการบดี  มหาวิทยาลัยนครพนม

พ.ศ. 2559 – 2560

ประธานสาขาวิชาหลักสูตรและนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้

คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม

พ.ศ. 2557 - 2558

ประธานสาขาวิชาหลักสูตรและนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้

คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม

พ.ศ. 2550 - 2556

อาจารย์

คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์ มหาวิทยาลัยนครพนม

 

 

 

 

 

 

 

 

 

  1. ประวัติการเป็นวิทยากร

วิทยากร การอบรมเพื่อพัฒนาครูผู้สอนหลักสูตรการพัฒนาครูประจำการที่สอนไม่ตรงวุฒิ /

วิชาเอก กลุ่มสาระการเรียนรู้วิชาภาษาไทย วิชาสังคมศึกษาและวิชาภาษาอังกฤษ ณ โรงแรมริเวอร์วิว จังหวัดนครพนม และโรงแรมพลอยพาเลซ จังหวัดมุกดาหาร วันที่ 2-4 พฤศจิกายน 2554

วิทยากร การวิจัยเพื่อพัฒนาโรงเรียนต้นแบบด้านการจัดการสู่ความเป็นเลิศตามปรัชญาการ

จัดการคุณภาพทั่วทั้งองค์กร ณ โรงเรียนทีปังกรวิทยาพัฒน์ (วัดประดู่) ในพระราชูปถัมภ์ฯ จังหวัดสมุทรสงคราม  เดือนพฤศจิกายน พ.ศ.2555 ถึง เดือนกุมภาพันธ์  พ.ศ.2555

วิทยากร การประชุมเชิงปฏิบัติการด้านวัดและประเมินผลการศึกษาผู้เรียนแก่ครูผู้สอน  ณ

โรงแรมทองเพกา อำเภอปราสาท จังหวัดสุรินทร์ วันที่ 7-11 พฤษภาคม 2555

                     วิทยากร การอบรมครูวิชาภาษาไทยและบูรณาการระดับประถมศึกษาและระดับมัธยมศึกษา (ม.ต้นและม.ปลาย) โครงการยกระดับคุณภาพครูและผู้บริหารทั้งระบบ ตามแผนปฏิบัติการไทยเข้มแข็ง ประจำปี 2555 ณ โรงแรมริเวอร์วิว จังหวัดนครพนม และโรงแรมพลอยพาเลซ จังหวัดมุกดาหาร  เดือนกรกฎาคม  ถึง เดือนสิงหาคม  พ.ศ.2555

                     วิทยากร โครงการอบรมการออกแบบและการจัดการเรียนรู้และโครงการอบรมการบริหารจัดการในห้องเรียน ณ ห้องประชุมพนมศิลป์ คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์  มหาวิทยาลัยนครพนมวันที่ 16-20 ตุลาคม 2555

                     วิทยากร บรรยายพิเศษการพัฒนาหลักสูตรฝึกอบรมครูเพื่อพัฒนาหลักสูตรการจัดการความรู้ภูมิปัญญาอีสานใต้ ด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม ณ มหาวิทยาลัยราชภัฏศรีสะเกษ วันที่ 7-10 พฤษภาคม 2556

                    วิทยากร อบรมพัฒนาครู“โปรแกรมการพัฒนาสมรรถนะครูระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานด้านการวัดและประเมินผลในชั้นเรียน” Teacher Development :  A development  of  program for Basic Education Teacher’s  Competencies  on Classroom Assessment. ณ. โรงแรมปราสาทรีสอร์ท อำเภอปราสาท  จังหวัดสุรินทร์ วันที่ 28-31 พฤษภาคม 2556

                     วิทยากร ในการประชุมปฏิบัติการการพัฒนาวิชาชีพครูเพื่อเสริมสร้างสมรรถนะการสอนที่เน้นความแตกต่างระหว่างบุคคล โรงเรียนจัตุรัสวิทยานุกูล จังหวัดชัยภูมิ วันที่ 25-26 กรกฎาคม 2556

                     วิทยากร โครงการพัฒนาครูโดยใช้กระบวนการสร้างระบบพี่เลี้ยง Coaching & Mentoring เพื่อพัฒนาสมรรถนะการจัดการเรียนรู้ที่ส่งเสริมทักษะการคิดขั้นสูงของนักเรียน(Higher Order Thinking : HOT) โรงเรียนอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี วันที่ 4 สิงหาคม 2556

 วิทยากร การอบรมครูเพื่อทำผลงานทางวิชาการในโครงการประชุมเชิงปฏิบัติการพัฒนา

งานวิจัยและพัฒนา (R&D) ของครูสังกัด อปท.ณ โรงแรมเวล จังหวัดนครปฐม วันที่ 22-24 มกราคม 2557

                     วิทยากร ในการอบรมโครงการบริการวิชาการที่บูรณาการกับการวิจัย  ณ ห้องบัณฑิต 1  คณะศิลปศาสตร์และวิทยาศาสตร์  มหาวิทยาลัยนครพนม วันที่ 21 ธันวาคม 2557

วิทยากรโครงการหลักสูตรและนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ เรื่อง “ทิศทางใหม่ของหลักสูตร

ท้องถิ่นโดยเน้น Mentoring และ Coaching เพื่อพัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 และการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน” วันที่ 2 พฤษภาคม 2559

                     วิทยากรโครงการบริการวิชาการที่บูรณาการกับการเรียนการสอนและการวิจัย : กิจกรรมบริการวิชาการหลักสูตรและนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้ เรื่อง “ทิศทางการทำวิทยานิพนธ์  เพื่อพัฒนาทักษะผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 และการเข้าสู่ประชาคมอาเซียน”วันที่ 10 พฤษภาคม 2560

 

  1. ผลงานทางวิชาการ

6.1 บทความวิจัยตีพิมพ์ในวารสารวิชาการระดับชาติและนานาชาติ

พิจิตรา  ธงพานิช. (2561). การพัฒนาแบบจำลอง NPU Model : เพื่อส่งเสริมการพัฒนา

หลักสูตรและนวัตกรรมการจัดการเรียนรู้. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย มหาวิทยาลัยศิลปากร  ปีที่ 10 ฉบับที่ 1 (มกราคม-มิถุนายน 2561). ISSN 1906-8352

          6.2 บทความวิจัยที่นำเสนอในการประชุมวิชาการ

พิจิตรา  ธงพานิช. (2559). การพัฒนาหลักสูตรการฝึกอบรมเชิงปฏิบัติการ เรื่องการ

ออกแบบการจัดการเรียนรู้ด้วยวิธีการย้อนกลับ (Backward Design) เพื่อพัฒนาทักษะการคิดของนักเรียน. การประชุมวิชาการระดับชาติ ครุศาสตร์ ครั้งที่ 1.  (กรกฏาคม 2559). หน้า 975-983.  กาฬสินธุ์: มหาวิทยาลัยกาฬสินธุ์.  

พิจิตรา  ธงพานิช, สาวิตรี เถาว์โท,ฉวีวรรณ พลสนะ. (2559). การพัฒนาหลักสูตร

สถานศึกษา เรื่อง การทำไข่เค็มสมุนไพร โรงเรียนศรีโคตรบูรณ์ สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษานครพนมเขต 22. การประชุมวิชาการและผลงานวิจัยระดับชาติ ครั้งที่ 5. (กรกฎาคม 2559). หน้า 292-299. ชัยภูมิ :  มหาวิทยาลัย

ราชภัฏชัยภูมิ.

พิจิตรา  ธงพานิช, สาวิตรี เถาว์โท, บุญรอด ดอนประเพ็ง และฉวีวรรณ พลสนะ. (2559).

การศึกษาผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนวิชาคณิตศาสตร์  เรื่องฟังก์ชันเอกซ์โพเนน

เชียลและลอการิทึม ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่  5  ที่เรียนด้วยการจัด

กิจกรรมการเรียนรู้แบบใช้โครงงานเป็นฐาน. การประชุมวิชาการและผลงานวิจัย

ระดับชาติ ครั้งที่ 5. (กรกฎาคม 2559). หน้า 284-291. ชัยภูมิ:  มหาวิทยาลัย

ราชภัฏชัยภูมิ.

6.3 ตำรา/หนังสือ

    พิจิตรา  ธงพานิช (2560). วิชาการออกแบบและการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน. พิมพ์ครั้งที่ 3.  

นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์. 

พิจิตรา  ธงพานิช. (2558). วิชาการพัฒนาหลักสูตร  หลักการ  แนวคิด  ทิศทาง  แนวโน้ม.

พิมพ์ครั้งที่ 5. นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนาม

จันทร์. 

พิจิตรา  ธงพานิช. (2558). วิชาการพัฒนาหลักสูตร  ความรู้  สมรรถนะ  ตามมาตรฐาน

วิชาชีพครู. พิมพ์ครั้งที่ 2. นครปฐม : โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์.

พิจิตรา  ธงพานิช. (2557). วิชาการพัฒนาหลักสูตร. พิมพ์ครั้งที่ 3. นครปฐม : โรงพิมพ์

มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์. 

พิจิตรา  ธงพานิช. (2557). วิชาการออกแบบและการจัดการเรียนรู้. พิมพ์ครั้งที่ 2. นครปฐม :                 

โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยศิลปากร วิทยาเขตพระราชวังสนามจันทร์.   

 

References

References
Anderson, L. W. and Krathwohl, D. R., et al (Eds.). (2001). A Taxonomy for Learning,
Teaching, and Assessing: A Revision of Bloom’s Taxonomy of Educational Objectives.
Allyn & Bacon. Boston, MA (Pearson Education Group).


Bel E. and Mallet M. (2006). Constructionist Teaching in The Digital Age- A Case Study. IADIS International Conference on Cognition and Exploratory Learning in Digital Age (CELDA 2006) :371-375.
Bellnca J., Brandt R. (2010) 21st century skills : rethinking how students learn. Bloomington, IN :Solution Tree Press.
Bloom, B., Englehart, M.D., Furst, E.J., Hill, W.H., &Krathwohl, D.R. (1956).“Taxonomy of educational objectives”. : Handbook I , cognitive domain. New York : David Mckay
Education reform to make officials accountable Jun 03. 2018 https://www.nationthailand.com/national/30346892
Edward L. Pizzini, Daniel P. Shepardson and Sandra K. Abell. (1989). “A Rationale for and the Development of a Problem Solving Model of Instruction in Science Education”. Science Education 73(5) :523-534
Harkins, A.M. (2008). “ Leapfrog Principles and Practices”. Core Components of Education 3.0 and 4.0. Future Research Quarterl. 24(1) : 19-32
Hovland, Lumsdaine and Sheffield. (1949). Cited in Goodman, R.I.,Fletcher, K.A. and Schneider, E.W. 1980. The effectiveness Index as a comparative measure in media product evaluation. Educational Technology. 20(09): 30-34.
Johnson, David W., Johnson Roger T., and Johnson Edythe, H. (1994). The New Circles of Learning Cooperation in the Classroom and School. Alexandria Virginia : ASCD.
Joyce, B, & Weil, M. (1996). Model of Teaching. 5th ed. Boston : Allyn and Bacon.
Joyce, B. & Weil, M. (2000). Models of Teaching. 6th ed. Boston: Allyn and Bacon
International Commission on Education for the Twenty-first Century. (online) Learning : the
treasure within; https://unesdoc.unesco.org/ark:/48223/pf0000109590.
Independent Committee for Education Reform (ICER) online Digital Platform Retrieved May 3.
2018 from https://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=51205&Key=news2
(in Thai).
Murphy, E. (1997). Characteristics of constructivist teaching and learning. constructivism: From philosophy to practice. Intelligence Organizes the World by Organizing Itself.
Osborne And Wittrock. (1983 ). “Osborne, R. and Wittrock, M. (1983). Learning Science: A Generative Process”. Science Education.67(4) : 489-508.
Ruangrit, N. (2018). “ The research and development of instructional design model for
Massive Open Online Course in Higher Education for Educational Courses”. Veridian
E - Journal, Silpakorn University (Humanities, Social Sciences and arts 11(4) : 950 –
961 (in Thai)
Runcharoen, T. (2017) Direction of Educational toward Education 4.0 in the Digital Age. Nakornratchsima :Nakornratchsima College (in Thai)
Songserm, U. (2012). The Development of Learning Outcome in Local Curriculum of Third Grade Students in Curriculum Development Subject Taught by Using Cooperative Learning in Team Game Tournament Technique. Faculty of Education, Silpakorn University (in Thai)
Khemmani, T. (2008). Teaching Strategies: Knowledge for Effective. Learning Process. 8th edition. Bangkok: Chulalongkorn University. Publishing. (in Thai)
Uamcharoen, S. Lowriendee, W. and Mongkol, P. (2016). “The Development of Constructivist Learning Model for the Student Teachers”. Silpakorn Educational Research Journal, 8(1) : 28-46 (in Thai)
Wright, S. Paul, Horn, Sandra P. and Sanders, William L. (1997). “Teacher and Classroom
Context Effects on Student Achievement : Implications for Teacher Evaluation”.
Journal of Personnel Evaluation in Education 11(1): 57-67.

เผยแพร่แล้ว

2020-01-21

ฉบับ

บท

บทความวิจัย