การศึกษาวัฒนธรรมไทยลาวครั่ง เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ ในอำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี (A Study Thai Lao Khrung Culture to Promote Creative Learning in U-thong Suphanburi Province)

ผู้แต่ง

  • ลักษณา เกยุราพันธ์ (Luxana Keyuraphan) กลุ่มวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
  • ธิดารัตน์ ตันนิรัตร์ (Thidarat Tannirat) กลุ่มวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
  • ศราวุฒิ สมัญญา (Sarawut Samanya) กลุ่มวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
  • ศรีมงคล เทพเรณุ (Srimongkol Thepreanu) กลุ่มวิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏบ้านสมเด็จเจ้าพระยา
  • ณรงค์วัฒน์ มิ่งมิตร (Narongwat Mingmit)
  • วราภรณ์ ศรีอยุธย์ (Waraporn Sriayut)
  • มงคล สมกิตติกานนท์ (Mongkol Somkittikanon)
  • ลัลนา วงษ์ประเสริฐ (Lanlana Wongprasert)

คำสำคัญ:

วัฒนธรรมไทย, ลาวครั่ง, การเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์

บทคัดย่อ

การวิจัยการศึกษาวัฒนธรรมไทยลาวครั่ง เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ในอำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ใช้ระเบียบวิธีวิจัยแบบวิจัยและพัฒนา พื้นที่ในการศึกษา คือ อำเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี ทั้ง 3 ชุมชน ผู้ที่ให้ข้อมูลหลักในการศึกษา รวมทั้งสิ้น 20 คน ใช้การเลือกแบบเจาะจง เครื่องมือที่ใช้เป็นแบบสอบถาม แนวทางการสัมภาษณ์เชิงลึก แนวทางการสนทนากลุ่มและการจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู้ โดยการทดลองใช้รูปแบบในชุมชนบ้านโคกและชุมชนบ้านดงเย็น การวิเคราะห์ข้อมูลในการหาความถี่ ค่าร้อยละ ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัยพบว่า รูปแบบการศึกษาวัฒนธรรมไทยลาวครั่ง เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์ที่พัฒนา เรียกว่า รูปแบบการศึกษาวัฒนธรรมไทยลาวครั่งเพื่อส่งเสริม การเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์มีองค์ประกอบได้แก่ ชุมชนลาวครั่ง อัตลักษณ์ของชุมชนลาวครั่ง การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การสร้างสรรค์ชุมชนแห่งการเรียนรู้ การอนุรักษ์ และการพึ่งตนเอง

References

Burisak, C. and et.al. (2002). Academic Research. Bangkok: S R Printing Mass Product Co Ltd. (in Thai)
Chativong, J. (1986). A description of the Lao Khrang dialect at Tambon Huay Duan, Amphur Dontoom, Nakhon Pathom Province. Master of Education Thesis Program in Physical Education Graduate School Silpakorn University. (in Thai)
Chimplee, K. (2012). Knowledge Management Models for Local Wisdom in Wickerwork Handicrafts: A Case Study of Local Community Enterprises in Nakhon Ratchasima Province. Doctoral of Education Thesis Program in Social Development and Environmental Management Program Faculty of Social and Environmental Development National Institute of Development Administration. (in Thai)
Department of Cultural Promotion. (2017). Strategic Plan, Department of Academic Promotion B.E. 2561 – 2564. Bangkok: Department of Cultural Promotion. (in Thai)
Lotkhamwatthana, K. (2009). “Traditional Thai Weaving Wisdom: Guidelines for Community Business Management in Sikhio District, Nakhon Ratchasima Province”. Master of Education Thesis Program in Physical Education Graduate School Mahasarakrm University. (in Thai)
Methong, T. (2016). “The Study on Identity of Lao Khrang’s Ethnicity in Tumbol Huay Duan Amphoe Don Tum Changwat Nakhon Pathom”. The 8 th NPRU National Academic Conference. Nakhon Pathom: Nakhon Pathom Rajabhat University. (in Thai)
Naowabut, R. and Sungrugsa, N. (2015). “Guidelines for Multicultural Education classes : Case Study in BAN PA-LA-U Community, Huahin District, Prachaubkirikhan Province”. Veridain E-Journal 8(2): 420-435. (in Thai)
Sintapanon, S. and et.al. (2009). Child-centered learning. Bangkok: Aksorn Education. (in Thai)
Suksaengsuwan, R. (2004). Tai Khang Tai Wiang. Bangkok: Poompunya. (in Thai)
The Royal Institute. (2003). Philosophy Dictionary English-Thai the Royal Institute. Bangkok: the Royal Institute. (in Thai)
Watnasak, M. (2010). Private kindergartens: the development of a knowledge management model from the northeastern folk wisdom with care for child development. Doctoral of Education Thesis Program in Physical Education Graduate School Mahasarakrm University. (in Thai)
Wongpongkham, N. (2009). “A Study of Isan Local Wisdom in Making Product
Using Bronze and Bass for Commercial Purpose”. Journal of Fine and Applied Arts, Khon Kaen University 1(1): 40-48. (in Thai)

เผยแพร่แล้ว

2021-07-02

ฉบับ

บท

บทความวิจัย