การประเมินหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) (Curriculum Evaluation of Kasetsart University Laboratory School Kamphaeng Saen Campus Educational Research and Development Center According to the Basic Education Core Curriculum 2008 (Development Curriculum 2017))

ผู้แต่ง

  • รุจิราพร รามศิริ (Rujiraporn Ramsiri)
  • ณชพงศ์ อุดมศรี (Nachapong Udomsri)
  • สุมิตร สุวรรณ (Sumit Suwan)

คำสำคัญ:

การประเมินหลักสูตร/ โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน/ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน

บทคัดย่อ

การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อ 1) ศึกษาสภาพปัญหาของหลักสูตรสถานศึกษาในปัจจุบันและความต้องการประเมินหลักสูตรสถานศึกษา 2) ประเมินหลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยา เขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) และ3) เสนอแนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร โดยใช้วิธีการประเมินแบบ CIPPI Model ผู้ให้ข้อมูลประกอบด้วย นักเรียน 481 คน อาจารย์ 111 คน ผู้บริหาร 19 คน และผู้ปกครอง 20 คน เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย ได้แก่ แบบบันทึกเอกสาร แบบสอบถาม แบบสัมภาษณ์ และประเด็นสนทนากลุ่ม วิเคราะห์ข้อมูลโดยการหาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์เนื้อหา ผลการวิจัย พบว่า 1) การนำหลักสูตรไปใช้ ครูไม่สามารถพัฒนาคุณภาพผู้เรียนให้ไปถึงเป้าหมายของผู้เรียนในศตวรรษที่ 21 ได้ครบถ้วน และมีความต้องการจำเป็นมากที่จะต้องมีการประเมินหลักสูตรเพื่อการปรับปรุงและพัฒนา โดยอาจประเมินทุกปีการศึกษาหรือประเมินเมื่อครบรอบการใช้หลักสูตรอย่างน้อย 3 ปี 2) ผลการประเมินหลักสูตรปกติ นักเรียน และอาจารย์มีความคิดเห็นในภาพรวมอยู่ในระดับปานกลาง และด้านผลกระทบอยู่ในระดับมาก หลักสูตร English Program มีความคิดเห็นในภาพรวมและทุกด้านอยู่ในระดับมาก โดยด้านผลกระทบอยู่ใน ระดับมาก เป็นลำดับที่ 1 3) แนวทางการพัฒนาและปรับปรุงหลักสูตร พบว่า หลักสูตรปกติ ควรปรับโครงสร้างเวลาเรียนให้สามารถจัดรายวิชาเรียนตามจุดเน้นได้มากขึ้น ปรับปรุงวิสัยทัศน์ของหลักสูตร เน้นการเสริมสร้างทักษะการคิดสร้างสรรค์และนวัตกรรม และการบูรณาการเชิงสร้างสรรค์ หลักสูตร English Program พบว่า ควรมีการติดตามผลการใช้หลักสูตรอย่างเป็นระบบ และนำผลการประเมินไปใช้ในการจัดทำแผนพัฒนาสถานศึกษา

References

คมสัน ตรีไพบูลย์ และคณะ. (2558). การประเมินหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต (หลักสูตร 5 ปี)
สาขาวิชาการสอนคณิตศาสตร์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 26(3), กันยายน-ธันวาคม, 41-52.
ฆนัท ธาตุทอง. (2550). การพัฒนาหลักสูตรท้องถิ่น. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
จันทิวา เตจ๊ะ, นพพร ธนะชัยขันธ์, และสุดาพร ปัญญาพฤกษ์. (2560). การประเมินหลักสูตรสถานศึกษากลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนแม่ลาววิทยาคม อำเภอแม่ลาว จังหวัดเชียงราย. วารสารบัณฑิตวิจัย, 8(1), มกราคม-มิถุนายน, 45-56.
จิรภัทร เพ็ชรมงคล. (2555). การประเมินหลักสูตรวิชาวิทยาการทหาร (งานนิพนธ์หลักสูตรรัฐศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการจดการทรัพยากรเพื่อความมั่นคง คณะรัฐศาสตรและนิติศาสตร). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.
จิราวดี พวงจันทร์. (2554). การบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา ระดับสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาราชบุรี เขต 2 (วิทยานิพนธ์ ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
จุฑารัตน์ ทิพย์บุญทรัพย์, และศศิธร โรจน์สงคราม. (2560). การศึกษาความผูกพันของนักศึกษาต่อวิทยาลัยนานาชาติ มหาวิทยาลัยมหิดล. วารสาร Mahidol R2R e-Journal, 4(1), มกราคม–มิถุนายน, 56-69.
ใจทิพย์ เชื้อรัตนพงษ์. (2539). การพัฒนาหลักสูตร : หลักการและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพ์อลีนเพลส.
ชญากาณฑ์ ขันธ์แก้ว. (2560). การประเมินหลักสูตรการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเป็นภาษาอังกฤษ โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์ (วิทยานิพนธ์ หลักสูตรครุศาสตร์มหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษอังกฤษ). ฉะเชิงเทรา: มหาวิทยาลัยราชภัฏราชนครินทร์.
ชวลิต ชูกำแพง. (2551). การพัฒนาหลักสูตร. มหาสารคาม: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาสารคาม.
ไชยยศ ไพวิทยศิริธรรม. (2550). การพัฒนารูปแบบการประเมินหลักสูตร: การประยุกต์ใช้การ
ประเมินอภิมาน (ปริญญานิพนธ์การศึกษาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการวิจัยและพัฒนา
หลักสูตร บัณฑิตวิทยาลัย). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
ฐิติกา เสนาจิตต์ และจุฑามณี ตระกูลมุทุตา. (2560). สภาพการดำเนินงานตามโครงการจัดการเรียนการสอนตามหลักสูตรกระทรวงศึกษาธิการเป็นภาษาอังกฤษ (Mini English Program : MEP) : กรณีศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จังหวัดสงขลา. วารสารวิชาการมหาวิทยาลัยธนบุรี, 11(24), มกราคม–เมษายน, 74-80.


ฐิติมา นิติกรวรากุล. (2553). การประเมินหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนวัดบ้านโป่งสามัคคีคุณูปถัมภ์ จังหวัดราชบุรี ช่วงชั้นที่ 3-4 โดยใช้รูปแบบการประเมิน CIPP Model (วิทยานิพนธ์ปริญญาศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
ทิศนา แขมมณี. (2545). ศาสตรการสอน. กรุงเทพมหานคร: สํานักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย.
ธํารง บัวศรี. (2542). ทฤษฎีหลักสูตร : การออกแบบหลักสูตรและพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: ธนรัช.
นพมณี เชื้อวัชรินทร์ และคณะ. (2558). การประเมินหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต (หลักสูตร 5 ปี) สาขาวิชาการสอนชีววิทยา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 26(3), กันยายน-ธันวาคม, 77-91.
นารี อุไรรักษ์, พัชนี กุลฑานันท์, และเบญจพร วรรณูปถัมภ์. (2562). การประเมินการใช้หลักสูตรสถานศึกษา โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัย
ราชภัฏบุรีรัมย์, 11(1), มกราคม-มิถุนายน, 59-82.
เนตรนภา หยูมาก. (2562). การศึกษาคุณลักษณะของครูที่พึงประสงค์ตามทัศนะของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 (รายงานการวิจัย). สงขลา: โรงเรียนตะเครียะวิทยาคม.
บงกช เอี่ยมชื่น. (2555). การประเมินหลักสูตรวิทยาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์
การแพทย์ (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2550) คณะแพทยศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิจัยและประเมินผลการศึกษา). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
บุญชม ศรีสะอาด. (2546). การพัฒนาการสอน. กรุงเทพมหานคร: สุวีริยาสาสน์.
ปิยะ ศิลากุล. (2550). การประเมินการบริหารหลักสูตรสถานศึกษาตามทัศนะของผู้อำนวยการโรงเรียนและครูวิชาการ ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาบุรีรัมย์ เขต 1 (วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาการบริหารการศึกษา). บุรีรัมย์: มหาวิทยาลัยราชภัฏบุรีรัมย์.
พงศ์ประเสริฐ หกสุวรรณ และนุสรา พีระพัฒนพงศ์. (2559). การประเมินหลักสูตรและความคิดเห็นของผู้ใช้บัณฑิต : กรณีศึกษาหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาเทคโนโลยีการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 27(1), มกราคม-เมษายน, 49-60.
พรทิพย์ ไชยโส, วสันต์ ทองไทย, และแม้นมาศ ลีลสัตยกุล. (2551). การประเมินหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิทยาศาสตร์ศึกษา หลักสูตร 5 ปี ภาควิชาการศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์. ในเรื่องเต็มการประชุมทางวิชาการของมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ครั้งที่ 46: สาขาศึกษาศาสตร์ สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ สาขาเศรษฐศาสตร์และบริหารธุรกิจ สาขาส่งเสริมการเกษตรและคหกรรมศาสตร์ (น. 89-96). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์; สำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา; กระทรวงศึกษาธิการ;กระทรวงเกษตรและสหกรณ์; กระทรวงวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี;กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม; กระทรวงเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร; สำนักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ;สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

มนัส จันทร์พวง. (2549). การประเมินหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนสิรินธรราชวิทยาลัย จังหวัดนครปฐม โดยใช้แนวคิด BALANCED SCORECARD [BSC]. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยศิลปากร. doi: 10.14457/SU.the.2006.29
มารุต พัฒผล. (2555). การประเมินหลักสูตรเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา. กรุงเทพมหานคร:
จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์.
มารุต พัฒผล. (2558). การประเมินหลักสูตรเพื่อการเรียนรู้และพัฒนา. กรุงเทพมหานคร: จรัลสนิทวงศ์การพิมพ์.
มาเรียม นิลพันธุ์ และคณะ. (2554). การประเมินหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการสอน คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (รายงานการวิจัย). นครปฐม: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
มาเรียม นิลพันธุ์ และคณะ. (2556). การประเมินผลการใช้หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ในโรงเรียนต้นแบบการใช้หลักสูตร (รายงานการวิจัย). นครปฐม: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
มาเรียม นิลพันธุ์. (2553). การประเมินหลักสูตรที่เน้นการตัดสินใจโดยใช้วิธีเชิงระบบโดยใช้รูปแบบ CIPP Model. ใน บัณฑิตวิทยาลัย (บ.ก.), คู่มือการประเมินหลักสูตรระดับบัณฑิต (น. 30-35). นครปฐม: มหาวิทยาลัยศิลปากร.
มาเรียม นิลพันธุ์. (2555). การประเมินหลักสูตรศึกษาศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาหลักสูตรและการนิเทศ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (รายงานการวิจัย). นครปฐม: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
มาเรียม นิลพันธุ์. (2558). วิธีวิจัยทางการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 9). นครปฐม: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.
มีนา ดาวเรือง. (2555). การประเมินหลักสูตรอุตสาหกรรมท่องเที่ยวและบริการ แขนงวิชาธุรกิจ
การบินโรงเรียนการท่องเที่ยวและการบริการ พ.ศ. 2548 มหาวิทยาลัยราชภัฏสวนดุสิต. วารสารวิจัย มสด สาขามนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 8(1), มกราคม–เมษายน, 71-85.
รัตนศิริ เข็มราช และคณะ. (2558). การประเมินหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนภาษาอังกฤษในฐานะเป็นภาษาโลก (รายงานการวิจัย). ชลบุรี: คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา.
รัตนะ บัวสนธิ์. (2556). รูปแบบการประเมิน CIPP และ CIPPIEST มโนทัศน์ที่คลาดเคลื่อนและถูกต้องในการใช้ CIPP and CIPPIEST Evaluation Models: Mistaken and Precise Concepts of Applications. วารสารศิลปากรศึกษาศาสตร์วิจัย, 5(2), กรกฎาคม- ธันวาคม, 7-24.
รุจิร์ ภู่สาระ. (2546). การพัฒนาหลักสูตร: ตามแนวปฏิรูปการศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: บุ๊ค พอยท์.
รุจิร์ ภู่สาระ. (2551). การพัฒนาหลักสูตรตามแนวปฏิรูปการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: บุ๊ค พอยท์.



โรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา. (2560). หลักสูตรโรงเรียนสาธิตแห่งมหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกำแพงแสน ศูนย์วิจัยและพัฒนาการศึกษา ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560).
ฤดีมาศ ศรีสุข. (2557). การประเมินหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนในฝัน ระดับชั้นมัธยมศึกษาปีที่1–6 โดยใช้แนวคิดการวัดผลเชิงดุลยภาพ (Balanced Scorecard)กรณีศึกษา โรงเรียนราชวินิตบางเขน (การค้นคว้าอิสระ หลักสูตรบัญชีมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบัญชีธุรกิจแบบบูรณาการ). กรุงเทพมหานคร: คณะพาณิชยศาสตร์และการบัญชี มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
วิชัย วงษ์ใหญ่. (2537). กระบวนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอนภาคปฏิบัติ.
กรุงเทพมหานคร: สุรีวิยาสาส์น.
วิชัย วงษ์ใหญ่. (2551). กระบวนการพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน. กรุงเทพมหานคร:
สุวีริยาสาส์น.
วิชัย วงษ์ใหญ่. (2552). หลักสูตร. ใน สารานุกรมวิชาชีพครูเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระ
เจ้าอยู่หัว เนื่องในโอกาสมหามงคลเฉลิมพระชนมพรรษา 80 พรรษา (น.469–474). กรุงเทพมหานคร: สำนักงานเลขาธิการคุรุสภา.
วิชัย วงษ์ใหญ่. (2554). การพัฒนาหลักสูตรระดับอุดมศึกษา (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: อาร์ แอนด์ปริ้น จำกัด.
เวชฤทธิ์ อังกนะภัทรขจร. (2558). การประเมินหลักสูตรการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชาการสอนคณิตศาสตร์ คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 26(2), พฤษภาคม-สิงหาคม, 223-235.
ศิริชัย กาญจนวาสี. (2553). การประเมินหลักสูตร : หลักการและแนวปฏิบัติ. สืบค้นเมื่อวันที่ 25 มกราคม 2563. http://www.edu.tsu.ac.th/major/eva/files/journal/scan1.pdf
ศิริวรรณ วณิชวัฒนวรชัย. (2559). การจัดการเรียนรูที่เนนความแตกตางระหวางบุคคล. วารสารศึกษาศาสตร มหาวิทยาลัยศิลปากร, 13(2), 65-75.
สงัด อุทรานันท์. (2532). พื้นฐานและหลักการพัฒนาหลักสูตร (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร : ภาควิชาบริหารการศึกษา คณะครุศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สมหวัง พิธิยานุวัฒน์. (2541). วิธีวิทยาการประเมินทางการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สำนักวิชาการและมาตรฐานการศึกษา. (2553). แนวทางการบริหารจัดการหลักสูตร ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร:
โรงพิมพ์ชุมนุมสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย จำกัด.
สิราวรรณ จรัสรวีวัฒน์ และคณะ. (2558). การประเมินหลักสูตรการศึกษาบัณฑิต (หลักสูตร 5 ปี) สาขาวิชาการสอนภาษาจีน (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554) คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา. วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยบูรพา, 26(3), กันยายน-ธันวาคม, 243-255.


สุชาดา สุดจิตร. (2562). คุณลักษณะของอาจารย์ผู้สอนตามความคิดเห็นของนักศึกษา สถาบันอุดมศึกษาระดับปริญญาตรีในจังหวัดภูเก็ต. วารสารร่มพฤกษ์ มหาวิทยาลัยเกริก, 37(1), มกราคม–เมษายน, 145-156.
สุนีย์ ภู่พันธ์. (2546). แนวคิดพื้นฐานการสร้างและการพัฒนาหลักสูตร. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
สุภา นิลพงษ์. (2554). การประเมินหลักสูตรโรงเรียนมหิดลวิทยานุสรณ์ พุทธศักราช 2552
(วิทยานิพนธ์ วท.ม. (วิทยาการการประเมิน)). กรุงเทพมหานคร: บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ.
อรวรรณ จุลวงษ์. (2555). การศึกษาเชิงคุณภาพเกี่ยวกับความรู้สึกผูกพัน ต่อสถาบันการศึกษาของนักเรียนพยาบาลกองทัพบก. วารสารพยาบาลทหารบก, 13(2), พฤษภาคม-สิงหาคม, 18-27.
อิศเรศ พิพัฒน์มงคลพร และคณะ. (2556). การประเมินหลักสูตรศึกษาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาการประถมศึกษา คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร (รายงานการวิจัย). คณะศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร.

Armstrong. David G. (2003). Curriculum today. New Jersey : Merrill Prentice Hall.
Beauchamp, George A. (1981). Curriculum Theory (4th ed.). Illinois: F E Peacock.
Bobbitt, Flankin. (1981). The Curriculum. Boston: Houghton Mifflin.
Brigman, Greg A. (1992). The Effects of Student Readiness Training on the Listening
Comprehension, Attending, and Social Skill of Kindergarten Students (Readiness,
Attention). Dissertation Abstracts Intentional, 52(8), February, 2814-A.
Cronbach, Lee J. (1970). Essentials of Psychological Testing. New York: Harper and Row.
Crow & Crow. (1980). Introduction to Education. New Delhi: Enrage Publishing House.
Diamond, Robert. M. (2006). Designing and Assessing Course and Curricular Guide (3rd ed.). United State: Jossey – Bass.
Eggert, L.L., Thompson, E.A. Herting, J.R.,Nicolas, L.J.,&Dicker, B.G. (1994). Preventing adolescent drug abuse and high school dropout through an intensive school-based social network development program. American Journal of Health Promotion, 8, 202-215.
Eisner, E. (1976). Education Connoisseurship and Criticism : Their Form and Functions in Educational Evaluation. Journal of Aesthetic Education, 10(3), 135.
Good, Carter V. (1973). Dictionary of Education. New York: Mcgraw – Hill Book Company.
Hammond, Robert, L. (1967). Evaluation at Local Level in Educational Evaluation Theory and Practice. Beiwont Company.

Libbey, H. P. (2004). Measuring student relationships to school: Attachment, bonding, connectedness, and engagement. Journal of School Health, 74, 274-283. doi: 10.1111/j.1746-1561.2004.tb08284.x
Oliva P.F. (2013). Developing the Curriculum (8th ed.). Boston: Allyn and Bacon.
Ornstein, A.C. & Hunkins, F.P. (2004). Curriculum Foundations, Principles and Issues. The United States of America: Pearson Education, Inc.
Sowell, E.J. (1996). Curriculum : An Integrative Introduction. United States of America: Merrill.
Stake, R. E. (1975). Evaluating the Arts in Education : A Responsive Approach. Columbus, OH: Merrill.
Stufflebeam, D. L. (2003). The CIPP model for evaluation. In the international handbook of educational evaluation. Edited by D.L.Stufflebeam and T. Kellaghan. Boston: kluwer Academic Publishers.
Stufflebeam, D. L. and other. (1971). Education Evaluation and Decision Making. ltasca, lllinois: Peacock Publisher.
Stufflebeam, D. L., & Shinkfield, A. J. (2007). Evaluation: Theory, models and applications. San Francisco: Jossey-Bass.
Sweeney, D. (2011). Student–Centered Coaching : A Guide for K–8 Coachers and Principles. California: Corwin Press.
Taba, H. (1962). Curriculum Development Theory and Practice. New York : Harcourt, Brace and World.
Taba, H. (1996). Curriculum Development : Theory and Practice. New York: Harcourt, Brace and World Inc.
Tomlinson. C. A. (2001). How To Differentiate Instruction in Mix-Ability Classrooms. ASCD.
Tyler, R.W. (1969). Basic Principles of Curriculum and Instruction. Chicago:
University of Chicago Press.
Wheeler, D.K. (1974). Curriculum Process. London: University of London Press.
Wiles, Jon W. (2009). Leading curriculum development (8th ed.). California: Corwin Press.
Wiles, Jon W. and Bondi, C. Joseph. (2011). Curriculum development a guide to practice (8th ed.). Boston: Pearson.
Worthen, B.R. and Sanders, J.R. (1987). Educational Evaluation: Alternative Approaches and Practical Guidelines. New York: Longman Press.

เผยแพร่แล้ว

2022-01-01

ฉบับ

บท

บทความวิจัย