การพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับครูปฐมวัย ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 (The Development Early Childhood Teachers’ LearningExperiences Model in Schools under Sakon Nakhon Primary Education Service Area Office 1)
คำสำคัญ:
การพัฒนารูปแบบ / การจัดประสบการณ์การเรียนรู้ / ครูปฐมวัยบทคัดย่อ
การพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับครูปฐมวัย
ในโรงเรียนสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1
The Development Early Childhood Teachers’ LearningExperiences Model
in Schools under Sakon Nakhon Primary Education Service Area Office 1.
บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีความมุ่งหมายเพื่อ 1) เพื่อแสวงหาปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับครูปฐมวัยในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนครเขต 1 และ2) เพื่อพัฒนารูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับครูปฐมวัยในโรงเรียน สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1 วิธีดำเนินการวิจัยมี 2 ระยะ คือ ระยะที่ 1 การสร้างและพัฒนารูปแบบ ระยะที่ 2 การตรวจสอบรูปแบบ เครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูล คือ แบบสอบถาม และแบบสัมภาษณ์ สถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ข้อมูล ได้แก่ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
ผลการวิจัยพบว่า
1. ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ระดับปฐมวัย ของครูผู้สอนระดับปฐมวัย สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสกลนคร เขต 1
ได้แก่ ด้านบุคลิกภาพของครู ด้านการสนับสนุนและให้ความสำคัญของผู้บริหารสถานศึกษา ด้านการร่วมมือของผู้ปกครอง และจาการตรวจสอบปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้
มีค่าเฉลี่ยระดับมากที่สุดทุกด้าน
2. รูปแบบการจัดประสบการณ์การเรียนรู้สำหรับครูปฐมวัย มีองค์ประกอบดังนี้
ผู้ปกครอง 1) ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการจัดประสบการณ์การเรียนรู้ระดับปฐมวัย ได้แก่ ด้านบุคลิกภาพของครู ด้านการสนับสนุนและให้ความสำคัญของผู้บริหารสถานศึกษา ด้านการร่วมมือของผู้ปกครอง
Abstract
The purposes of this research were: 1) to survey the factor of relate experiential learning model for early childhood teacher under the Office of Sakon Nakhon Educational Service Area 1 2) to develop an experiential learning model for early childhood teacher under the Office of Sakon Nakhon Educational Service Area 1. The Research procedure had 2 phases were: phase 1 creation and development model and phase 2, to examine the validity of model. The instruments used were questionnaire and interview form. The statistics used for data analysis were mean and standard deviation.
The results of the research were:
1. Learning experiential model for early childhood teacher. The results were: 1) The effect factor to the learning experiential model of early childhood teacher under the Office of Sakon Nakhon Educational Service Area 1 showed that teacher personality, supportable and importance of administrator and cooperatives’ parent. 2) The process of learning experiences for teachers in early childhood are four steps are: building a familiarity, ensuring, the ability, Remember the affair, item. 3) Activity-based learning has six main activities included: activity and stroke, Creative, Free, Events Experience, Outdoor and Activities Games. 4) Desirable characteristics for early childhood showed that the development of early childhood’s body, Emotional and mind, socialization and intelligence.
2. The learning experiential model of early childhood teacher under the Office of Sakon Nakhon Educational Service Area 1. Study The audit found that the model is most appropriate.