การสื่อสาร ภาพลักษณ์: การขยายตลาดการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืน

ผู้แต่ง

  • นุชฤดี รุ่ยใหม่ คณะวิทยาการจัดการ ม.สวนดุสิต

คำสำคัญ:

การสื่อสาร, ภาพลักษณ์, ตลาดท่องเที่ยว

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ

การท่องเที่ยวเป็นหนึ่งในอุตสาหกรรมหลักที่สร้างรายได้เข้าประเทศไทย ในช่วง 10 ปีที่ผ่านมา การขยายตัวของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว ช่วยให้ธุรกิจอื่นๆที่เกี่ยวข้องเติบโต และยังช่วยพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศในภาพรวม นอกจากการแข่งขันอย่างรุนแรงในตลาดท่องเที่ยวแล้ว สถานการณ์โรคโควิด-19 ที่เกิดขึ้น ส่งผลกระทบธุรกิจท่องเที่ยวอย่างรุนแรง ทำให้ต้องมีการปรับกลยุทธ์ในการส่งเสริมการท่องเที่ยว เช่น หาตลาดใหม่ และข้อมูลสำคัญที่ต้องนำมาใช้ในการวางแผนเพื่อขยายตลาดการท่องเที่ยวคือภาพลักษณ์ของประเทศไทยในสายตาของนักท่องเที่ยวต่างชาตินั่นเอง การพัฒนาแผนสื่อสารที่ดีจะนำไปสู่การจัดการการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนได้ในอนาคต

References

ฉลองศรี พิมลสมพงศ์. (2542). การวางแผนและการพัฒนาตลาดท่องเที่ยว. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

นุชฤดี รุ่ยใหม่ (2560).ความเป็นจริงกับภาพลักษณ์ที่นักท่องเที่ยวต่างชาติมีต่อเมืองไทย.กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.

นุชฤดี รุ่ยใหม่ (2561). แนวทางการพัฒนาการนำเสนอข่าวสารการท่องเที่ยวเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว คุณภาพ ของเมืองพัทยา.กรุงเทพฯ:

มหาวิทยาลัยสวนดุสิต.ปรมะ สตเวทิน. (2541). หลักและทฤษฎีการสื่อสาร.กรุงเทพฯ:จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2538). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. พิมพ์ครั้งที่ 5. กรุงเทพฯ: อักษรเจริญทัศน์.

สาขาการท่องเที่ยว คณะศิลปศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล. (2551). แรงจูงใจในการ

ท่องเที่ยวและพฤติกรรมนักท่องเที่ยว : กรณีศึกษานักท่องเที่ยวชาวเกาหลี. กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

สำนักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา .(2561).โครงการสำรวจทัศนคติและความพึงพอใจของ

นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติที่เดินทางท่องเที่ยวในประเทศไทย.กรุงเทพฯ: กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา.

สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย (สทท.) (2561) .การสำรวจทัศนคติของนักท่องเที่ยวต่างชาติจาก

แหล่งข้อมูลสื่อสังคมออนไลน์.กรุงเทพฯ:สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย.

อิสระพงษ์ พลธานี .(2561). พฤติกรรมการใช้อินเทอร์เน็ตของนักท่องเที่ยวชาวยุโรปในการตัดสินใจเดินทางมาท่องเที่ยวจังหวัดภูเก็ต.นครปฐม : มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

Atkin,R,E.& RICE,C.K (1989). Public communication campaigns. Newbury Park,CA: Sage.

Berlo, David K. (1960). The Process of communication. New York: Holt, Rinchart and Winston.

Devito,J.A.(2003). Human Communication :The basic course (9thed.) Boston : Pearson Education.

Middleton Kate . (1995). Community Alternatines Reconsidered: USA. Howara League and BPL.

เผยแพร่แล้ว

2022-07-01