การพัฒนาเกมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมทักษะด้านการคิดวิเคราะห์ สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1

ผู้แต่ง

  • สถาพร เกิดบัว นักศึกษาประจำหลักสูตรคอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
  • สุรสวดี สุขอยู่ นักศึกษาประจำหลักสูตรคอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
  • สุริยา สอนพระขรรค์ นักศึกษาประจำหลักสูตรคอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี
  • ณัฐชนัญ เสริมศรี ผู้ช่วยศาสตราจารย์ประจำหลักสูตรคอมพิวเตอร์ศึกษา มหาวิทยาลัยราชภัฏธนบุรี

คำสำคัญ:

เกมการเรียนรู้, ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน

บทคัดย่อ

วิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาเกมการเรียนรู้และศึกษาผลลสัมฤทธิ์ด้านการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1/4 โรงเรียนหลวงพ่อปานคลองด่านอนุสรณ์ โดยศึกษาจากกลุ่ม นักเรียนที่กำลังศึกษาชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 ปีการศึกษา 2564 โรงเรียนหลวงพ่อปานคลองด่านอนุสรณ์ จังหวัดสมุทรปราการ จำนวน 26 คน ด้วยวิธีเลือกแบบเจาะจง ผลการวิจัยพบว่าประสิทธิภาพของเกมการเรียนรู้มีค่าเฉลี่ยผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามสูตรเมกุยแกนท์ เท่ากับ 1.60 และผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนด้วยเกมการเรียนรู้เพื่อส่งเสริมการคิดวิเคราะห์ของนักเรียนหลังเรียนสูงกว่าก่อนเรียน โดยมีนัยทางสถิติอยู่ที่ระดับ .05

References

กระทรวงศึกษาธิการ. (2551). หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551. กรุงเทพฯ :โรงพิมพ์คุรุสภาลาดพร้าว

ทิศนา แขมมณี. (2552). ศาสตร์การสอนองค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพฯ: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธีระวุฒิ ศรีมังคละ. (2562). การคัดเลือกเกมการศึกษาเพื่อใช้ในการสอน. ค้นเมื่อ 14 ตุลาคม 2564, จาก https://www.gotoknow.org

นงนาถ มีหล้า. (2547). ผลการใช้เกมการสอนวิชาคณิตศาสตร์ เรื่องพหุนาม สำหรับนักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 1 โรงเรียนสตรีนครสวรรค์. วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏนครสวรรค์.

ปราณี กองจินดา. (2549). การเปรียบเทียบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์และทักษะการคิดเลขในใจของนักเรียนที่ได้รับการสอนตามรูปแบบซิปปาโดยใช้แบบฝึกหัดที่เน้นทักษะการคิดเลขในใจกับนักเรียนที่ได้รับการสอนโดยใช้คู่มือครู. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต. หลักสูตรและการสอน. พระนครศรีอยุธยา : บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏพระนครศรีอยุธยา.

ไพโรจน์ คะเชนทร์. (2556). การวัดผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน. สืบค้นจาก:http://www.wattoongpel.com/มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลพระนคร.

มนต์ชัย เทียนทอง. (2548). ออกแบบและพัฒนาซอฟต์แวร์สำหรับบทเรียนคอมพิวเตอร์. กรุงเทพฯ:มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า

พระนครเหนือ.

เสงี่ยม โตรัตน์. (2546). “การสอนเพื่อการส่งเสริมทักษะการคิดวิเคราะห์” วารสารศึกษาศาสตร์ มหาวิทยาลัยศิลปากร. 67(82) : 28

สถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (2556). รายงานผลการทดสอบระดับชาติ ขั้นพื้นฐาน (O-NET).จาก http://www.niets.or.th/

สุทธิกานต์ บ่อจักรพันธ์, ณธกร ภาโนมัย,

โชติรส สุวรรณพรหม และปิยวัจน์ ค้าสบาย. (2559). บทเรียนแบบเกมเรื่องการบวกลบเลขผลลัพธ์ไม่เกิน 1,000 สำหรับนักเรียนชั้นประถมศึกษาปีที่ 2. ในการประชุมวิชาการระดับชาติการจัดการเทคโนโลยีและนวัตกรรม ครั้งที่ 2. มหาสารคาม: มหาวิทยาลัยราชภัฏมหาสารคาม.

สมพร เชื้อพันธ์. (2557). การเปรียบเทียบ

ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนคณิตศาสตร์ของ

นักเรียนชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 3 โดยใช้วิธีการจัดการเรียนการสอนแบบสร้างองค์ความรู้ด้วยตนเองกับการจัดการเรียนการสอนตามปกติ. วิทยานิพนธ์ ครุศาสตรมหาบัณฑิต. (หลักสูตรและการสอน).พระนครศรีอยุธยา : บัณฑิตวิทยาลัย สถาบันราชภัฏพระนครศรีอยุธยา

เผยแพร่แล้ว

2022-12-29