เมตาเวิร์สกับการพัฒนาหลักสูตรนิเทศศาสตร์

ผู้แต่ง

  • รรินทร วสุนันต์ คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต
  • สุวลักษณ์ ห่วงเย็น คณะวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยสวนดุสิต

คำสำคัญ:

เมตาเวิร์ส, หลักสูตรนิเทศศาสตร์, เทคโนโลยีเสมือนจริง, การสื่อสารแบบมัลติมิเดีย

บทคัดย่อ

การพัฒนาหลักสูตรนิเทศศาสตร์ในยุคที่เทคโนโลยีเมตาเวิร์ส (Metaverse) มีบทบาทสำคัญในแวดวงการศึกษาและการสื่อสาร ได้รับแรงบันดาลใจจากแนวคิดการพัฒนาหลักสูตรของฮิลด้า ทาบา (Hilda Taba) ซึ่งประกอบด้วย 7 ขั้นตอน ได้แก่ การวิเคราะห์ความต้องการ การกำหนดจุดมุ่งหมาย การเลือกเนื้อหาสาระ การจัดระเบียบเนื้อหา การคัดเลือกและจัดประสบการณ์การเรียนรู้ และการประเมินผล ในการปรับใช้กับเมตาเวิร์ส ขั้นตอนเหล่านี้ได้รับการประยุกต์ให้สอดคล้องกับความต้องการของโลกเสมือนจริง ซึ่งเน้นการเรียนรู้แบบประสบการณ์เชิงประจักษ์และการใช้เทคโนโลยี VR/AR เพื่อเสริมสร้างทักษะที่จำเป็นสำหรับอนาคต หลักสูตรได้รับการออกแบบให้สอดรับกับทักษะที่จำเป็นในอุตสาหกรรม อาทิ การสร้างสรรค์เนื้อหาในโลกเสมือน การตลาดดิจิทัล และการแก้ปัญหาในสถานการณ์ไม่แน่นอน การเปลี่ยนแปลงแนวทางการศึกษาเชิงดิจิทัลนี้ยังสนับสนุนการจัดการเรียนการสอนที่เปิดกว้างและยืดหยุ่น โดยใช้กลยุทธ์การสอนในรูปแบบเสมือนจริง เช่น การสัมมนาในเมตาเวิร์ส การฝึกทักษะการทำงานในสภาพแวดล้อม VR และการพัฒนาโครงการเสมือนที่ส่งเสริมการทำงานร่วมกัน นอกจากนี้ การสร้างความร่วมมือกับอุตสาหกรรมช่วยให้ผู้เรียนได้รับประสบการณ์จริงและทักษะการทำงานที่ตอบโจทย์ตลาดแรงงาน บทความนี้แสดงให้เห็นว่า เมตาเวิร์สมีศักยภาพในการสนับสนุนการเรียนรู้แบบแอคทีฟและสร้างความสนใจในเนื้อหาทางนิเทศศาสตร์ พร้อมเปิดโอกาสการทำงานในหลากหลายสายอาชีพที่เกี่ยวข้องกับการสื่อสาร การออกแบบ และการพัฒนาเทคโนโลยี

References

กมลวรรณ วิชัยรัตน์. 2022, ทำไมเราจึงควรสนใจ Metaverse ให้มากขึ้นในศักราชนี้. (15 มกราคม 2565). สืบค้น 12 มีนาคม 2567, จาก https://www.sanook.com/hitech/1549513/

กอบกิจ ประดิษฐผลพานิช. 2565, (14 พฤศจิกายน 2565). วิเคราะห์ "Meta" ก้าวสู่ "ภาวะถดถอย" จะส่งผลต่อโลกอย่างไรบ้าง?.สืบค้น 25 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://www.springnews.co.th/digital-tech/technology/832193

กรุงเทพธุรกิจ. (21 มีนาคม 2565). มหาวิทยาลัยในยุค "Metaverse" ต้องเรียนอะไร? มหาวิทยาลัยจริงจำเป็นหรือไม่. สืบค้น 12 มีนาคม 2567, จาก https://www.bangkokbiznews.com/social/994879

ใจทิพย์ ณ สงขลา. (22 กุมภาพันธ์ 2565). เตรียมพร้อมปรับตัวเข้าสู่ Metaverse ได้อย่างไร. สืบค้น 12 มีนาคม 2567, จาก https://www.sanook.com/hitech/1549513/

ชญานิท สรีพล.(7 เมษายน 2565). Metaverse: Into the Eduverse การศึกษาจะเปลี่ยนไปอย่างไร ในวันที่ Metaverse มาถึง. สืบค้น 2 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://missiontothemoon.co/metaverse-education/

ชูศรี สุวรรณโชติ. (2542). หลักสูตรและการพัฒนาหลักสูตร. กรุงเทพฯ : อักษรไทย.

ดำรง ค้าเจริญ. (2557, สิงหาคม 18). การพัฒนาสมรรถนะนักวิชาการโสตทัศนศึกษา [เอกสาร].การอบรมเชิงปฏิบัติการมหาวิทยาลัยมหาสารคาม.

เถกิง สมทรัพย์. (2553, กันยายน 20). การปฏิรูปการเรียนการสอนสื่อมวลชนเพื่อการปฏิรูปสื่อ [เอกสาร].สัมมนาเชิงวิชาการ. มหาวิทยาลัยรังสิต. อ้างถึงใน https://www.isranews.org/content-page/item/10961-2010-09-20-12-02-54.html

ประสงค์ เลิศรัตนวิสุทธิ์. (2553, กันยายน 20). การปฏิรูปการเรียนการสอนสื่อมวลชนเพื่อการปฏิรูปสื่อ [เอกสาร].สัมมนาเชิงวิชาการ. มหาวิทยาลัยรังสิต. อ้างถึงใน https://www.isranews.org/content-page/item/10961-2010-09-20-12-02-54.html

พิรงรอง รามสูต. (2553, กันยายน 20). การปฏิรูปการเรียนการสอนสื่อมวลชนเพื่อการปฏิรูปสื่อ [เอกสาร].สัมมนาเชิงวิชาการ. มหาวิทยาลัยรังสิต. อ้างถึงใน https://www.isranews.org/content-page/item/10961-2010-09-20-12-02-54.html

ธํารง บัวศรี. (2542). ทฤษฎีหลักสูตร: การออกแบบหลักสูตรและพัฒนา. กรุงเทพฯ: ธนรัช

พลสัน นกน่วม. (2565). ผู้บริหารสื่อ The Zero Publishing. (22 เมษายน 2565). สัมภาษณ์.

มารุต พัฒผล .(2567). รปแบบการพัฒนาหลักสูตรร่วมสมัย. บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ. พิมพ์ครั้งที่ 2

มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิต. (22 มกราคม 2564). การศึกษาด้านนิเทศศาสตร์ในปัจจุบันแกนกลางของเรื่องเป็นทักษะการใช้สื่อในโลกดิจิทัล. สืบค้น 12 มีนาคม 2567, จาก https://commarts.dpu.ac.th/news/120/

รวิน ระวิวงศ์. (2565). แนวทางการพัฒนาแพลตฟอร์มโลกเสมือน (Metaverse) เพื่อยกระดับแหล่งเรียนรู้และการบริการแห่งอนาคต องค์การพิพิธภัณฑ์วิทยาศาสตร์แห่งชาติ. สืบค้น 11 มีนาคม 2567, จาก https://so05.tci-thaijo-org/index.php/ratthapirak/article/view/263604/1/178264

วารีรัตน์ แก้วอุไร. (2564). การพัฒนาหลักสูตร: จากทฤษฎีสู่การปฏิบัติ. พิษณุโลก : สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยนเรศวรสถาบันส่งเสริมการสอนวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี. (12 กรกฎาคม 2565). Metaverse จักรวาลนฤมิตร. สืบค้น 8 มีนาคม 2567, จาก https://www.ipst.ac.th/knowledge/22565/ metaverse.html.

สุนีย์ ภู่พันธ์. (2546). แนวคิดพื้นฐานการสร้างและพัฒนาหลักสูตร.กรุงเทพฯ: ดวงกมลสมัยการพิมพ์.

เสน่ห์ ห้องสุวรรณ. ผู้ช่วยกรรมการผู้จัดการ ผู้จัดการฝ่ายเซ็นเซอร์โฆษณาและรายการ กรรมการคณะละครช่อง 7 กรรมการตรวจสอบรายการ กรรมการยุทธศาสตร์สื่อดิจิทัลช่อง 7 อนุกรรมการสภาด้านการศึกษา. (24 มีนาคม 2565). สัมภาษณ์.

อักฤทธิ์ สังข์เพ็ชร. (21 มีนาคม 2565). มหาวิทยาลัยในยุค "Metaverse" ต้องเรียนอะไร? มหาวิทยาลัยจริงจำเป็นหรือไม่. สืบค้น 19 กุมภาพันธ์ 2567, จาก https://www.bangkokbiznews.com/social/994879

อัครวัฒน์ วิสิฐธนาศิริ. หัวหน้าแผนกตรวจรายการและโฆษณา สถานีวิทยุโทรทัศน์กองทัพบกช่อง 5 (24 มีนาคม 2567). สัมภาษณ์.

อภิชาต รอดนิยม. (2564). เทคโนโลยีการศึกษากับการจัดเรียนการสอนออนไลน์ในยุคใหม่. วารสารสังคมและมานุยวิทยาเชิงพุทธ, 6(9), 123-133

Ahmet Erol. (2023). Metaverse/Meta-Education Belief Scale. Malaysian Online Journal of Educational Technology.11(2): 94-107

EFL. Learning centre, English for Lifelong Learning, ติดตาม 5 แนวโน้มการศึกษาโลกในอนาคต อีก 10 ปีข้างหน้าเป็นอย่างไร?. สืบค้น 3 กุมภาพันธ์ 2567, จากhttps://efl.ac.th/emerging-education-trends-future/

Flood (2021). Introduction to the Metaverse Report 2021. สืบค้น 9 มีนาคม 2567, จาก https://strivesponsorship.com/wp-content/uploads/2021/08/Introduction-to-the-Metaverse-Report-2021

Good, Carter V. (1973). Dictionary of Education. 3 rd ed. New York: McGraw-Hill.

Mission To the Moon. (7 เมษายน 2565). การศึกษาจะเปลี่ยนไปอย่างไรในวันที่ Metaverse มาถึง. สืบค้น 12 มีนาคม 2567, จาก https://missiontothemoon.co/metaverse-education/

Taba, H. (1962). Curriculum Development: Theory and Practice. New York: Harcourt Brace Jovanovich.

Tyler, R.W. (1949). Basic Principles of Curriculum and Instruction. Chicago: The university of Chicago press.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2024-12-31