ผลกระทบของหนี้ต่างประเทศที่มีต่อการลงทุนรวมในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • อภินันท์ พัชโรภาสวัฒนกุล มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถ
  • ณชภัทร พิชญมหุตม์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถ
  • อัมภิณี ลาภสมบูรณ์ดี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถ
  • รัฐกรณ์ พงษ์ประเสริฐ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตจักรพงษภูวนารถ

DOI:

https://doi.org/10.14456/mjba.2019.13

คำสำคัญ:

หนี้ต่างประเทศ, การลงทุนรวม

บทคัดย่อ

            วัตถุประสงค์ของการศึกษาครั้งนี้ เพื่อศึกษาผลกระทบของหนี้ต่างประเทศของภาครัฐบาลและภาคเอกชนที่มีต่อการลงทุนรวมในประเทศไทยโดยใช้ข้อมูลทุติยภูมิรายปี พ.ศ.2540 ถึงปี พ.ศ. 2560  ทำการคาดประมาณสมการถดถอยพหุคูณด้วยการประมาณค่าด้วยวิธีกำลังสองน้อยที่สุด  

            ผลการศึกษา พบว่า หนี้ต่างประเทศของภาครัฐบาลและภาคเอกชนมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกับการลงทุนรวมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ ส่วนตัวแปรที่ไม่เกี่ยวข้องกับหนี้ต่างประเทศได้แก่ ผลิตภัณฑ์ภายในประเทศมีความสัมพันธ์ในทิศทางเดียวกัน แต่อัตราดอกเบี้ย อัตราเงินเฟ้อ มีสัมพันธ์ในทิศทางตรงกันข้ามกับการลงทุนรวมอย่างมีนัยสำคัญทางสถิติ

            ข้อเสนอแนะที่ได้จากการศึกษาในครั้งนี้ คือ ภาครัฐบาลและภาคเอกชนควรมีการก่อหนี้ต่างประเทศให้อยู่ในระดับที่เหมาะสมและควรมีการวางนโยบายที่เกี่ยวข้องกับหนี้ต่างประเทศให้สอดคล้องกับการลงทุนรวมของประเทศไทยซึ่งจะมีส่วนสำคัญในการกระตุ้นเศรษฐกิจให้เติบโตตามเป้าหมายที่วางไว้

References

Adams, J.A. and A.S. Bankole. (2000). The Macroeconomics of Fiscal Deficits in Nigeria, Nigerian J. Econ. Soc. Stud., Nigerian Economic Society (NES), 42(3).

Adegbite Esther O., Ayadi, Folorunso S., Ayadi, O. Felix. (2008). The impact of Nigeria's external debt on economic development. International Journal of Emerging Markets, Vol. 3 Iss: 3 pp. 285 – 301

Ajayi, Lawrence Boboye and Oke, Michael Ojo (2012), “Effect of External Debt on Economic Growth and Development of Nigeria”. International Journal of Business and Social Science, (3) 12:

Berg, A., Portillo, R., Yang, S.C.S., Zanna, L.F., (2013). Public investment in resource-abundant developing countries. IMF Econ. Rev. 61, 92–129.

Cassimon, D., Vaessen, J., (2007). Theory, practice and potential of debt for development swaps in the Asian and Pacific Region. Economic Systems 31, 12–34.

Gujarati, D.N., (2004). Basic Econometrics. 4th Edn., Tata McGraw Hill Publishing Company Limited, New Delhi, India.

Mahmoud, O. L. (2015). The Role of External Debt on Economic Growth: Evidence from Mauritania. International Journal of Economics & Management Sciences, 04-08.

Melina, G., Xiong, Y., (2014). Natural resource wealth and public investment strategy: implications for growth and debt. In: Ross, D. (Ed.) Mozambique Rising: Building a New Tomorrow. International Monetary Fund, Washington, D.C., pp. 141–156

Mwega, F., Rwegasira, D., (2003). Public debt and macroeconomic management in Sub-Saharan Africa, United Nations

Okoye, L.U (2013), “External Debt: A Potential Tool, for Economic Development,” International Journal of Management and Social Science Research, Vol. 1 No 2: 18-31

Senhadji, A., (2003). External shocks and debt accumulation in a small open economy. Review of Economic Dynamics 6, 207–239.

Victor Ushaemba lijirshar, F.J. (2016). The Relationship between External debt and Economic Growth in Nigeria. International Journal of Economics and Mangement Sciences, 01- 03.

Warner, A., (2014). Public investment as an engine of growth. IMF Working Paper 14/148. International Monetary Fund, Washington, D.C.

Wooldridge, J. M. (2014). Introductory econometrics: A modern approach. (Fifth edition). South-Western, Cengage Learning: Ohio.

Zaman, Gh., Georgescu, G., (2011). Sovereign risk and debt sustainability: warning levels for Romania. in: Non-Linear Modelling in Economics. Beyond Standard Economics, Expert Publishing House, 2011, pp. 234-270.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-10-21

How to Cite

พัชโรภาสวัฒนกุล อ., พิชญมหุตม์ ณ., ลาภสมบูรณ์ดี อ., & พงษ์ประเสริฐ ร. (2021). ผลกระทบของหนี้ต่างประเทศที่มีต่อการลงทุนรวมในประเทศไทย. Maejo Business Review, 1(2), 72–80. https://doi.org/10.14456/mjba.2019.13