การสร้างอัตลักษณ์ทางการท่องเที่ยวของน้ำพุร้อนเค็มคลองท่อม จังหวัดกระบี่

ผู้แต่ง

  • ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
  • ธวัชชัย ศุภดิษฐ์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
  • พิมพ์ลภัส พงศกรรังศิลป์ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์
  • สุชาติ ฉันสำราญ มหาวิทยาลัยวลัยลักษณ์

DOI:

https://doi.org/10.14456/mjba.2020.10

คำสำคัญ:

น้ำพุร้อนเค็มคลองท่อม, แหล่งท่องเที่ยวระดับโลก, อัตลักษณ์ทางการท่องเที่ยว

บทคัดย่อ

          น้ำพุร้อนเค็มคลองท่อมเป็นแหล่งท่องเที่ยวที่มีศักยภาพในการเป็นแหล่งท่องเที่ยวระดับโลก โดยได้รับการประกาศให้เป็นเมืองสปาต้นแบบของประเทศไทย โดยต้องมีการพัฒนาแบรนด์แหล่งท่องเที่ยวเพื่อสื่อสารกับนักท่องเที่ยวกลุ่มเป้าหมายที่ต้องมีการสร้างอัตลักษณ์ทางการท่องเที่ยว ด้วยเหตุนี้ในงานวิจัยนี้จึงมุ่งเน้นในการศึกษาอัตลักษณ์ของชุมชนตำบลห้วยน้ำขาวที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวและสร้างอัตลักษณ์ทางการท่องเที่ยวของน้ำพุร้อนเค็มคลองท่อม จังหวัดกระบี่ โดยใช้การประชุมกลุ่มย่อยกับผู้ที่เกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการการท่องเที่ยวทั้งภาครัฐและภาคเอกชน หลังจากวิเคราะห์ข้อมูลเบื้องต้น ผู้วิจัยสังเคราะห์ข้อมูลร่วมกับผู้ที่มีส่วนเกี่ยวข้องกับการบริหารจัดการเพื่อสร้างอัตลักษณ์ทางการท่องเที่ยวของจังหวัดกระบี่ ผลการวิจัยพบว่า อัตลักษณ์ของชุมชนตำบลห้วยน้ำขาว อำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ประกอบไปด้วยตำนานของน้ำพุร้อน ผลิตภัณฑ์ชุมชนได้แก่ วิถีกุ้งเคย ชาใบขลู่ อาหารทะเล นวดแผนไทย และเขาหลักกระบี่ โดยอัตลักษณ์ทางการท่องเที่ยวประกอบไปด้วยกิจกรรมการท่องเที่ยวที่หลากหลาย การบริหารจัดการ ภูมิปัญญาท้องถิ่น และการเป็นแหล่งท่องเที่ยวระดับโลก

References

เกศกนก ชุ่มประดิษฐ์ และจิราพร ขุนศรี. (2560). การวิเคราะห์อัตลักษณ์เพื่อเพิ่มมูลค่าให้แก่แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมในเขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดเชียงราย. วารสารวิทยาการจัดการ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย. 12(2), 121-143.

กำแหง วัฒนเสน เฮลมุท ดือราสส์ สวัสดี ยอดขยัน และสายใจ วัฒนเสน. (2558). การศึกษาลักษณะทางธรณีวิทยาของแหล่งน้ำพุร้อนเค็มคลองท่อมจังหวัดกระบี่ด้วยวิธีธรณีฟิสิกส์และข้อมูลคุณภาพของน้ำและดิน. รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

ฉลาดชาย รมิตานนท์. (2545). ความเชื่อทางศาสนา พิธีกรรม ความเชื่อทางวิทยาศาสตร์และภูมิปัญญาชาวบ้านในความเชื่อและพิธีกรรม. มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

ธวัชชัย ศุภดิษฐ์. (2562). แนวทางการพัฒนาและบริหารจัดการแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพสู่การเป็นสปาทาวน์ของอำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่ รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

เบญจวรรณ สุวรรณอ่างทอง. (2555). การใช้อัตลักษณ์ในการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวของจังหวัดอุดรธานี. วิทยานิพนธ์นิเทศศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

พระมหาชุติภัค แหมทอง ญาณินทร์ รักวงศ์วาน กมลาศ ภูวชนาธิพงศ์ และพุทธชาติ แผนสมบุญ. (2560). อัตลักษณ์กับการท่องเที่ยว: ศึกษาการนำอัตลักษณ์มาใช้กับการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรมของหลวงพระบาง ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พิมพ์ลภัส พงศกรรังศิลป์ เบญจพร แก้วอุไทย กนกวรรณ แก้วอุไทย ฉัตรชัย เงินแสงสรวย และวิเวก ผิวดำ. (2558). แนวทางการพัฒนาสิ่งอำนวยความสะดวกในแหล่งท่องเที่ยวน้ำพุร้อนเค็มคลองท่อม จังหวัดกระบี่ รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย (สกว.)

ยุรฉัตร บุญสนิท. (2546). ลักษณะความสัมพันธ์ของวรรณกรรมกับสังคมในพัฒนาการวรรณคดี. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

รพีพรรณ จันทับ และลินจง โพชารี. (2559). ปัจจัยด้านอัตลักษณ์ทรัพยากรท่องเที่ยวที่มีผลต่อความสำเร็จในการจัดการการท่องเที่ยวหมู่บ้านช้างบ้านตากลาง จังหวัดสุรินทร์. วารสารการจัดการ. 5(1), 48-59.

ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป์. (2558). แนวทางการพัฒนาน้ำพุร้อนเค็มคลองท่อม จังหวัดกระบี่ อย่างยั่งยืน รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป์. (2562). แนวทางการสร้างแบรนด์แหล่งท่องเที่ยวภาคใต้อย่างยั่งยืน รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป์ พิมพ์ลภัส พงศกรรังศิลป์ ธีรนุช พูศักดิ์ศรีกิจ และพิมพ์มาดา วิชาศิลป์. (2562, ก.) การสร้างแบรนด์การท่องเที่ยวเขตพัฒนาการท่องเที่ยวอันดามัน. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป์ และธีรนุช พูศักดิ์ศรีกิจ. (2559). แนวทางการพัฒนาตราสินค้าการท่องเที่ยวสีเขียวจังหวัดกระบี่ รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป์ และนนทิภัค เพียรโรจน์. (2561). การสร้างตราสินค้าทางการท่องเที่ยวเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานีอย่างยั่งยืน. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

ศิวฤทธิ์ พงศกรรังศิลป์ สุรศักดิ์ ชูทอง อภิชัย วรรธนะพิศิษฐ์ และธนาภา ช่วยแก้ว. (2562 ข.) แนวทางการพัฒนาและบริหารจัดการอำเภอคลองท่อม จังหวัดกระบี่สู่การเป็นสปาทาวน์. รายงานการวิจัยฉบับสมบูรณ์. สำนักงานกองทุนสนับสนุนการวิจัย.

สุรพงษ์ โสธนะเสถียร. (2556). ทฤษฎีการสื่อสาร. โรงพิมพ์ระเบียงทอง.

องค์การบริหารส่วนตำบลห้วยน้ำขาว. (2560). ข้อมูลตำบลห้วยน้ำขาว. จาก http://huaynamkhaw.go.th/public/.

อธิณัฏฐ์ ด่านภัทรวรวัฒน์. (2561). การใช้อัตลักษณ์เพื่อการสื่อความหมายในแหล่งท่องเที่ยว: กรณีศึกษาอำเภอบ้านตาขุน จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วิทยานิพนธ์มหาธุรกิจบัณฑิตมหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์.

อิสราพร วิจิตร์. (2559). การสื่อสารอัตลักษณ์ความเป็นบุรีรัมย์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว. วิทยานิพนธ์วารสารศาสตรมหาบัณฑิต. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

Balakrishnan, M.S., Nekhili, R., & Lewis, C. (2011). Destination brand components. International Journal of Culture, Tourism and Hospitality Research, 5(1), 4-25.

Blain, C., Levy, S.E., & Ritchie, J.R.B. (2005). Destination branding: insights and practices from destination management organizations. Journal of Travel Research, 43(4), 328-338.

Caldwell, N. & Freire, J. (2004). The differences between branding a country, a region and a city: Applying the Brand Box Model. Journal of Brand Management, 12, 50-61.

Creswell, J. W. (2014). Research Design Qualitative, Quantitative and Mixed Methods Approaches. (4th ed.). Thousand Oaks, CA Sage.

de Chernatony, L. (1999). Brand management through narrowing the gap between brand identity and brand reputation. Journal of Marketing Management, 15(1 - 3), 157-179.

Fox, R. (2006). Reinventing the gastronomic identity of Croatian tourist destinations. Hospitality Management, 26(3), 546-59.

Herstein, R. (2011). Thin line between country, city, and region branding. Journal of Vacation Marketing, 18(2), 147-155.

Hulburg, J. (2006). Integrating corporate branding and sociological paradigms: A literature study. Journal of Brand Management, 14, 60-73.

Konechnik, M. & Go, F. (2008). Tourism destination brand identity: The case of Slovenia. Brand Management, 15(3), 177-189.

Kotler, P. & Keller, K.L. (2016). Marketing management (15thed) Prentice Hall.

Pongsakornrungsilp, S. & Schroeder, J.E. (2011). Understanding value co-creation process in co-consuming brand community. Marketing Theory, 11(3), 303-324.

Pongsakornrungsilp, S., Pusaksrikit, T. & Schroeder, J.E. (2011). Co-creation through fear, faith, and desire,” In Bradshaw, A., Hackley, C. & Maclaren, P. (Eds.), European Advances for Consumer Research, (pp.333-340), (Volume 9) Duluth, MN: Association for Consumer Research, pp.333-340

Rodrigues, C., Skinner, H., Dennis, C. & Melewar, T.C. (2019). Towards a theoretical framework on sensorial place brand identity. Journal of Place Management and Development, 13(3), 273-295.

Schroeder, J.E. (2009). The cultural codes of branding. Marketing Theory, 9(1), 123-126.

Vargo, S. L. & Lusch, R. (2008). Service-dominant logic: Continuing the evolution. Journal of the Academy of Marketing Science, 36(1), 1-10.

Zenker, S., Braun, E. & Peterson, S. (2017). Branding the destination versus the place: The effects of brand complexity and identification for residents and visitors. Tourism Management, 58 (February 2017), 15-27.

Zouganeli, S., Trihas, N., Antonaki, M. & Kladou, S. (2012). Aspects of sustainability in the destination branding process: a bottom-up approach. Journal of Hospitality Marketing and Management, 21(7), 739-757.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2021-11-25

How to Cite

พงศกรรังศิลป์ ศ., ศุภดิษฐ์ ธ., พงศกรรังศิลป์ พ., & ฉันสำราญ ส. (2021). การสร้างอัตลักษณ์ทางการท่องเที่ยวของน้ำพุร้อนเค็มคลองท่อม จังหวัดกระบี่. Maejo Business Review, 2(2), 60–78. https://doi.org/10.14456/mjba.2020.10