ทฤษฎีตัวแทน: ความท้าทายในการบริหารงานธุรกิจในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • ปัณณวัฒน์ วังอนุสรณ์ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
  • ศิริกุล ตุลาสมบัติ คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
  • ภูษณิศา เตชเถกิง คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยแม่โจ้

DOI:

https://doi.org/10.14456/mjba.2022.1

คำสำคัญ:

ตัวการ-ตัวแทน, ทฤษฎีตัวแทน, ปัญหาตัวการ-ตัวแทน

บทคัดย่อ

การดำเนินธุรกิจในบริบทของประเทศไทยซึ่งมีความหลากหลายทางด้านประชากร พื้นที่และทรัพยากรธรรมชาติ ตลอดจนโครงสร้างธุรกิจซึ่งมีลักษณะธุรกิจครอบครัวเป็นส่วนใหญ่ ถือเป็นความท้าทายอย่างหนึ่งที่ผู้ทำธุรกิจต้องเผชิญ นอกจากนี้ในการดำเนินธุรกิจให้ประสบความสำเร็จ การกำกับดูแลกิจการก็ถือเป็นปัจจัยหนึ่งที่มีความสำคัญดังคำกล่าวที่ว่า “การกำกับดูแลกิจการมีบทบาทในการเพิ่มมูลค่าให้แก่กิจการ” ดังนั้น ในงานวิจัยชิ้นนี้จึงได้มีการศึกษาทฤษฎีที่เกี่ยวข้องกับการกำกับดูแลกิจการ คือ ทฤษฎีตัวแทนในด้านความเป็นมาและวิวัฒนาการ คำจำกัดความ ประเภท สาเหตุการเกิดและแนวทางแก้ไข ตลอดจนการประยุกต์ใช้ทฤษฎีตัวแทนบริบทของประเทศไทย ผลการศึกษาพบว่า ความสัมพันธ์ของตัวการ-ตัวแทน แบ่งออกเป็น 3 รูปแบบ โดยเฉพาะอย่างยิ่งในบริบทของตลาดทุนไทยได้เน้นไปที่คู่ความสัมพันธ์ระหว่างผู้บริหารกับเจ้าของ โดยผลการศึกษาส่วนใหญ่เน้นไปเรื่อง มูลค่ากิจการจากการวัดอัตราผลตอบแทนต่อสินทรัพย์ (ROA) ต่อบทบาทของกรรมการในการกำกับดูแลของคณะกรรมการ ซึ่งพบว่ามีหลาย ๆ ปัจจัยที่ส่งผลต่อผลการดำเนินงานในทิศทางเดียวกัน แต่ก็มีบางปัจจัยที่ผลการศึกษายังให้ผลไม่เป็นไปในทิศทางเดียวกัน

References

กระทรวงอุตสาหกรรม. (23 พฤษภาคม 2559). ธุรกิจครอบครัว. http://www.industry.go.th/industry/index.php/th/knowledge/item/10603-2016-05-23-05-38-40

จินตนา วสุนธรากุล. (2562). ความสัมพันธ์ระหว่างสัดส่วนการถือครองหุ้นโดยผู้ถือหุ้นรายใหญ่กับผลการ ดำเนินงาน ของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย (SET) และตลาดหลักทรัพย์เอ็ม เอ ไอ (MAI) [สารนิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย] https://scholar.utcc.ac.th/handle/66269-76254/4260

ดารารัตน์ สุขแก้ว. (2563). คะแนนการประเมินการกำกับดูแลกิจการและการส่งสัญญาณเกี่ยวกับนโยบายเงินปันผลในการลดปัญหาตัวแทน. Thammasat Economic Journal, 36(1), 32-44.

ธีนทัต โกศัลวิตร. (2562). การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างการกำกับดูแลกิจการและมูลค่าตลาดของกิจการ: กรณีศึกษาของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทยและตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ. วารสารบริหารศาสตร์ มหาวิทยาลัยอุบลราชธานี, 8(15), 82-99.

นันทิยา พรมทอง. (2563). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของคณะกรรมการบริษัทและผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เอ็ม เอ ไอ. วารสารบริหารธุรกิจและการบัญชี มหาวิทยาลัยขอนแก่น, 4(1), 117-136

ประภัสสร โปร่งวิทยากร, สุรางค์ เห็นสว่าง, ธนาวัฒน์ สิริวัฒน์ธนกุล.(2560). บทบาทของคณะกรรมการต่อผลการดำเนินงานด้านการเงินของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.วารสารรัชต์ภาคย์, 11(23), 87-102.

ปัณฑ์ณภัส ทองนุ่น. (2559). ความสัมพันธ์ระหว่างองค์ประกอบคณะกรรมการ โครงสร้างผู้ถือหุ้น และมูลค่าตลาดของ บริษัทตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์] http://kb.psu.ac.th/psukb/handle/2016/11474

ปิยะณัฐ ถุนพุทธดม, ธารินี พงศ์สุพัฒน์, ศิลปพร ศรีจั่นเพชร, ฐิตาภรณ์ สินจรูญศักดิ์, มนตรี ช่วยชู และ สุรีย์ โบษกรนัฏ. (2561). ผลกระทบของโครงสร้างผู้ถือหุ้นที่มีต่อผลการดำเนินงานของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. ใน การประชุมวิชาการและนำเสนอผลงานระดับชาติ UTCC Academic Day, (น. 420-434) มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

รจนา ขุนแก้ว, จิตติมา วิเชียรรักษ์, มัทนชัย สุทธิพันธุ์, กัลยา บุญทิพย์, ธนาภรณ์ ชูแก้ว, ธัญญารักษ์ มูสิก และ วิชญาพร มุสิแดง. (2564). ความสัมพันธ์ระหว่างคุณลักษณะของคณะกรรมการ คะแนนการกำกับดูแลกิจการและหลักความระมัดระวังทางบัญชีของบริษัทที่จดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์ เอ็ม เอ ไอ. วารสารวิชาการ มหาวิทยาลัยหอการค้าไทย มนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์, 41(2), 128-147.

รสิตา สังข์บุญนาค, วันชัย ประเสริฐศรี. (2560). โครงสร้างบรรษัทภิบาลกับราคาหุ้น กรณีศึกษาบริษัทในตลาดหลักทรัพย์ในประเทศไทย. วารสารบริหารธุรกิจศรีนครินทรวิโรฒ, 8(1), 125-139.

วรพงศ์ แก้วคำ. (2557). ขนาดและองค์ประกอบคณะกรรมการบริษัทกับมูลค่ากิจการ: หลักฐานจากบริษัทจดทะเบียนในประเทศไทย. [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์] https://kb.psu.ac.th/psukb/bitstream/2010/9969/1/394915.pdf

วาสุกาญจน์ งามโฉม. (2563). การบริหารกำไรเชิงฉวยโอกาสหรือผลประโยชน์ของกิจการที่มีระดับคะแนนการกำกับดูแลกิจการที่ดีของประเทศไทย. Thammasat Economic Journal, 36(2),52-78.

ศิลปพร ศรีจั่นเพชร. (2551). ทฤษฎีบรรษัทภิบาล. วารสารบริหารธุรกิจ, 31(120), 1-4.

อนุวัฒน์ ภักดี, แวววารี ทองประเสริฐ และ ธิษตยา รุ่งเดชธนาลัย. (2564). ผลกระทบของโครงสร้างผู้ถือหุ้นต่อความระมัดระวังทางบัญชีของ บริษัทจดทะเบียนในประเทศไทย. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยราชภัฏจันทรเกษม, 4(2), 95-109.

อรุณี ยศบุตร. (2563). องค์ประกอบของคณะกรรมการบริษัทกับคุณภาพกำไร: หลักฐานเชิงประจักษ์จากบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เอ็ม เอ ไอ. Journal of Modern Management Science, 13(1), 33-48.

อรุณี ยศบุตร. (2564). ลักษณะการจ่ายค่าตอบแทนกรรมการกับผลการดำเนินงานของบริษัท: หลักฐานเชิงประจักษ์จากบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์เอ็ม เอ ไอ ประเทศไทย. วารสารมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัยพะเยา, 9(1), 233-254.

อุไรวรรณ ตั้งสัมพันธ์. (2552). ปัจจัยกำหนดโครงสร้างเงินทุนของบริษัทจดทะเบียนในตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย. สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยเชียงใหม่.

Alchian, A. A., & Demsetz, H. (1972). Production, information costs, and economic organization. The American economic review, 62(5), 777-795.

Arrow, K. J. (1971). The economic implications of learning by doing. In Readings in the Theory of Growth (pp. 131-149). Palgrave Macmillan, London.

Chowdhury, D. (2004). Incentives, control and development: governance in private and public sector with special reference to bangladesh. Dhaka viswavidyalay prakashana samstha.

Core, J. E., Holthausen, R. W., & Larcker, D. F. (1999). Corporate governance, chief executive officer compensation, and firm performance. Journal of financial economics, 51(3), 371-406.

Damodaran, A., John, K., & Liu, C. H. (2005). What motivates managers?: Evidence from organizational form changes. Journal of Corporate Finance, 12(1), 1-26.

Demsetz, H., & Lehn, K. (1985). The structure of corporate ownership: causes and consequences. Jounal of Political Economy, 93, 1155-1177.

Eisenhardt, K. M. (1989). Agency theory: An assessment and review. Academy of management review, 14(1), 57-74.

Fama, E. F. (1980). Agency problems and the theory of the firm. Journal of political economy, 88(2), 288-307.

Fama, E. F., & Jensen, M. C. (1983a). Agency problems and residual claims. The journal of law and Economics, 26(2), 327-349.

Fama, E. F., & Jensen, M. C. (1983b). Separation of ownership and control. The journal of law and Economics, 26(2), 301-325.

Freeman, R. E. (2016). A stakeholder theory of the modern corporation. In The corporation and its stakeholders (pp. 125-138). University of Toronto Press.

Frierman, M., & Viswanath, P. (1994). Agency problems of debt, convertible securities, and deviations from absolute priority in bankruptcy. Journal of Law and Economics, 37(2), 455–476.

Jensen, M. C., & Meckling, W. H. (1976). Theory of the firm: Managerial behavior, agency costs and ownership structure. Journal of financial economics, 3(4), 305-360.

Mitnick, B. M. (1975). The theory of agency: framework. Barry M. Mitnick. The Theory of Agency. https://dx.doi.org/10.2139/ssrn.1021642

Panda, B., & Leepsa, N. M. (2017). Agency theory: Review of theory and evidence on problems and perspectives. Indian Journal of Corporate Governance, 10(1), 74-95.

Rosenstein, S., & Wyatt, J. G. (1990). Outside directors, board independence, and shareholder wealth. Journal of financial economics, 26(2), 175-191.

Ross, J. A. (1973). Influence of expert and peer upon negro mothers of low socioeconomic status. The Journal of Social Psychology, 89(1), 79-84.

Smith, A. (1937). The wealth of nations [1776] (Vol. 11937). na.

Wilson, R. (1968). The theory of syndicates. Econometrica; 36(1), 119-132.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-06-29

How to Cite

วังอนุสรณ์ ป., ตุลาสมบัติ ศ., & เตชเถกิง ภ. (2022). ทฤษฎีตัวแทน: ความท้าทายในการบริหารงานธุรกิจในประเทศไทย. Maejo Business Review, 4(1), 1–22. https://doi.org/10.14456/mjba.2022.1