การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงองค์ประกอบของเนื้อหาข่าวสารในสื่อสังคมออนไลน์ต่อการตัดสินใจเลือกร้านอาหารของคนวัยทำงานในประเทศไทย

ผู้แต่ง

  • เรนัส เสริมบุญสร้าง คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
  • กชวรรณ ณ สงขลา คณะบริหารธุรกิจ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่

DOI:

https://doi.org/10.14456/mjba.2022.10

คำสำคัญ:

คนวัยทำงาน, ร้านอาหาร, รูปภาพและวิดีโอคอนเทนต์, สื่อสังคมออนไลน์

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์ปัจจัยเชิงองค์ประกอบในการศึกษาผลของเนื้อหาข่าวสารต่อการตัดสินใจเลือกร้านอาหารของคนวัยทำงานในประเทศไทย จำนวน 400 ชุด และนำข้อมูลมาวิเคราะห์โดยใช้เชิงสถิติพรรณนา ประกอบด้วย ความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และวิเคราะห์โดยใช้สถิติเชิงอนุมาน คือ การวิเคราะห์องค์ประกอบเชิงยืนยัน โดยใช้ทฤษฎีการส่งสัญญาณ แนวคิดเส้นทางลูกค้า 5A’s และปัจจัยส่วนประสมการตลาดบริการ (7Ps) เป็นกรอบการวิเคราะห์
ผลการศึกษาพบว่า ผู้ตอบแบบสอบถามส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง อายุ 20-30 ปี อาชีพพนักงานบริษัทเอกชน และมีรายได้ 15,000-30,000 บาท และผลการวิเคราะห์ปัจจัยเชิงองค์ประกอบในการศึกษาผลของเนื้อหาข่าวสารต่อการตัดสินใจเลือกร้านอาหารของคนวัยทำงานในประเทศไทย พบว่ามี 26 ตัวแปร 8 องค์ประกอบคือ องค์ประกอบที่ 1 ด้านกายภาพ องค์ประกอบที่ 2 ด้านบุคลากรองค์ประกอบที่ 3 ด้านการอำนวยความสะดวก องค์ประกอบที่ 4 ด้านราคา องค์ประกอบที่ 5 ด้านการรีวิว องค์ประกอบที่ 6 ด้านกระบวนการให้บริการ องค์ประกอบที่ 7 ด้านการส่งเสริมการตลาด และองค์ประกอบที่ 8 ด้านชื่อเสียงของร้านอาหาร ในการสร้างเนื้อหาข่าวสารบนสื่อสังคมออนไลน์ ควรมีการนำเสนอเนื้อหาในองค์ประกอบเหล่านี้ เพื่อสร้างอิทธิพลต่อการตัดสินใจเลือกร้านอาหาร

References

กัลยา วานิชย์บัญชา. (2551). การวิเคราะห์สถิติขั้นสูงด้วย SPSS for Windows. กรุงเทพฯ: จุฬาลงกรณ์

ฐานเศรษฐกิจ. (2560). ประชากรไทย GenY ใหญ่สุด พฤติกรรมสร้างโอกาส-ความเสี่ยง(1), ฐานเศรษฐกิจ. https://www.thansettakij.com/columnist/234315

ฐานเศรษฐกิจดิจิทัล. (2565). มาดูกัน “คนไทย” จ่ายเงินไปกับอะไรมากที่สุดบ้างในแต่ละเดือน. ฐานเศรษฐกิจ. https://www.thansettakij.com/economy/520290

ดิจิทอรี. (2564). อัปเดต! ขนาดรูป ปี 2021 บน 4 แพลตฟอร์ม SOCIAL MEDIA ยอดนิยม. ดิจิทอรี. https://digitorystyle.com/social-media-image-size-2021/

ธนาคาร เลิศสุดวิชัย. (2560). เทรนด์ 2017 ชี้ คอนเทนต์ภาพ วิดีโอ ได้รับความนิยมสูง ในโลกออนไลน์. https://digitalmarketingwow.com/2017/01/09/เทรนด์-2017-ภาพ-วิดีโอ/

ธัญธณัฏฐ์ ไชยสุรินทร์ และดาริณี ตัณฑวิเชฐ. (2560). พฤติกรรมและปัจจัยทางการตลาดที่มีผลต่อการเลือกใช้ บริการร้านอาหารประเภทก๋วยเตี๋ยวในเขตพื้นที่ถนนสายนิมมานเหมินท์ของผู้ใช้บริการในจังหวัดเชียงใหม่. วารสารวิชาการการตลาดและการจัดการมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี, 4(1), 75-85.

ธีรวีร์ วราธรไพบูลย์. (2557). พฤติกรรมการบริโภค: อาหารนิยมบริโภคกับอาหารเพื่อสุขภาพ. วารสารปัญญาภิวัฒน์, 5(2), 255-264.

นงลักษณ์ วิรัชชัย. (2542). โมเดลลิสเรล: สถิติวิเคราะห์สำหรับการวิจัย. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

เมลิซ่า. (2561). 20 อันดับฟู๊ดบล็อกเกอร์ในประเทศไทย. สตาร์เกจ. https://starngage.com/top-20-food-bloggers-in-thailand-20-อันดับ-ฟู๊ดบล้อกเก-2/

บุณยาพร วุฒิธรรมคุณ. (2559). การรีวิวร้านอาหารผ่านสื่อสังคมออนไลน์กับการตัดสินใจเลือกร้านอาหารสําหรับการรับประทานนอกบ้านของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. [การค้นคว้าอิสระ ปริญญานิเทศศาสตรมหาบัณฑิต], มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.

แบรนด์ บุฟเฟต์. (2565). 4 วิธีเอาตัวรอดใน ‘ธุรกิจร้านอาหาร’ ปี 2565 แนวโน้มกลับมาโต แต่ยังเสี่ยงจาก Omicron-ต้นทุนวัตถุดิบ. แบรนด์บุฟเฟต์. https://www.brandbuffet.in.th/2022/01/kreserch-restaurant-business-trends-2022/

เพชรน้อย สิงห์ช่างชัย. (2549). หลักการและการใช้สถิติการวิเคราะห์ตัวแปรหลายตัวสำหรับการวิจัยทางการพยาบาล. (พิมพ์ครั้งที่ 3). ชานเมืองการพิมพ์

วิจิตรา ดีจันดา. (2561). ความสัมพันธ์ของการรีวิวผ่านสื่อสังคมออนไลน์และการตัดสินใจใช้บริการร้านกาแฟของผู้บริโภคในกรุงเทพมหานคร. [บทความวิชาการค้นคว้าอิสระ], มหาวิทยาลัยรามคำแหง. http://www.ba-abstract.ru.ac.th/AbstractPdf/2561-3-1_1564740000.pdf

รัชนก พวงธนะสาร. (2562). การสร้างคอนเทนต์ ธุรกิจร้านอาหาร. เพื่อนแท้เถ้าแก่ใหม่. https://เพื่อนแท้เถ้าแก่ใหม่.com/2019/คอนเทนท์-กับธุรกิจร้านอ/

ศรัญยา แสงลิ้มสุวรรณ และกาญจนา ส่งวัฒนา. (2564). ปัจจัยเชิงสาเหตุที่มีอิทธิพลต่อการตัดสินใจใช้บริการร้านอาหารไทย. วารสาร BU Academic Review, 20 (ธันวาคม 2564), 158-172.

ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. (2560). SME ธุรกิจร้านอาหาร ปรับกลยุทธ์รับการแข่งขันปี 2560. ศูนย์วิจัยกสิกรไทย. https://www.kasikornbank.com/th/business/sme/KSMEKnowledge/article/KSMEAnalysis/Documents/Restuarant-Strategies-2017.pdf

สเต็ปส์ อคาเดมี่. (2563). วิธีการวิเคราะห์ข้อมูล Facebook Insight เพื่อวางแผนการตลาดออนไลน์ได้อย่างมีประสิทธิภาพ. สเต็ปส์ อคาเดมี่. https://stepstraining.co/strategy/facebook-insight-for-digital-marketing-plan

สเต็ปส์ อคาเดมี่. (2560). 5 Step-by-Step ทำคอนเทนต์มาร์เก็ตติ้งสำหรับ SME. สเต็ปส์ อคาเดมี่. https://stepstraining.co/content/5-step-content-marketing-for-sme

สโรจ เลาหศิริ. (2565). สื่อสารการตลาดแบบไร้รอยต่อ. กรุงเทพฯ: ช็อร์ตคัต อมรินทร์พรินติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง.

สิฬณัชชา คงมั่น และอดิลล่า พงศ์ยี่หล้า. (2560). พฤติกรรมการรับชมรีวิวร้านอาหารทางออนไลน์และความตั้งใจจะใช้บริการหลังการชมรีวิวทางออนไลน์ของผู้บริโภค. วารสารบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์, 5(3), 322-332.

สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. (2563). Social Detox และ JOMO วัคซีนที่ต้องมีในโลกออนไลน์. สำนักงานพัฒนาธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์. https://www.etda.or.th/th/Useful-Resource/Knowledge-Sharing/articles/Social-Detox-and-JOMO.aspx?feed=590fb9ad-c550-4bc5-9a56-459ad4891d74

สุภมาส อังศุโชติ สมถวิล วิจิตรวรรณา และรัชนีกูล ภิญโญภานุวัฒน์. (2557). สถิติวิเคราะห์สำหรับการวิจัยทางสังคมศาสตร์และพฤติกรรมศาสตร์: เทคนิคการใช้โปรแกรม LISREL (พิมพ์ครั้งที่ 4). เจริญดีมั่นคงการพิมพ์.

สุวิมล ติรกานันท์. (2553). การวิเคราะห์ตัวแปรพหุในงานวิจัยทางสังคมศาสตร์. โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

อมรรัตน์ ปรีชารัตน์ และวอนชนก ไชยสุนทร. (2562). พฤติกรรมการใช้บริการร้านอาหารผ่านการรีวิวจากสื่อสังคมออนไลน์. Journal of KMITL Business school, 9(2), 209-219.

ฮันท์ นิวส์. (2564). โควิด-19 กระตุ้นคนไทยใช้อินเตอร์เน็ตพุ่ง กลุ่ม Gen Z vs Gen Y ทำสถิติ 12 ชม. ต่อวัน. ฮันท์ นิวส์. https://hunt.news/โควิด-19-กระตุ้นคนไทยใช้อ/

Belch, G. E., & Belch, M. A. (2001). Advertising and promotion: An integrated marketing communications perspective. Irwin/McGraw-Hill.

Bettencourt, L. A. (1997). Customer voluntary performance: customer as partners in service delivery. Journal of Retailing, 73(3), 383-406.

Chenet, P., Dagger, T.S. and O'Sullivan, D. (2010), "Service quality, trust, commitment and service differentiation in business relationships", Journal of Services Marketing, 24(5), 336-346.

Chu, S. C. (2009). Determinants of consumer engagement in electronic word-of-mouth (eWOM) in social networking sites. International journal of Advertising, 30(1), 47-75.

Cochran w. g. (1977). sampling techniques. john wiley & sons.

Deka, P. K. (2016). Segmentation of young consumers of North-East India Based on Their Decision-Making Styles. The IUP Journal of Marketing Management, 15(12), 65-83.

Dunham, B. (2011). The role for signaling theory and receiver psychology in marketing. In Evolutionary psychology in the business sciences. Springer, 225-256.

Horng, J.S., Chou, S.F., Liu, C.H., & Tsai, C.Y. (2013). Creativity, aesthetics and eco-friendliness: A physical dining environment design synthetic assessment model of innovative restaurants. Tourism Management, 36, 15-25.

Huang, Peng & Lurie, Nicholas & Mitra, Sabyasachi. (2009). Searching for Experience on the Web: An Empirical Examination of Consumer Behavior for Search and Experience Goods. Journal of Marketing, 73(2), 55-69.

Kotler, P., Armstrong, G., Saunders, J. & Wong, V. (1999). Principles of Marketing. Prentice Hall Inc.

Kotler, P., & Armstrong, G. (2005). Principles of Marketing. Prentice Hall.

Kotler, P., Kartajaya, H. & Setiawan, I. (2017). Marketing 4.0 Moving from Traditional to Digital. John Wiley & Sons.

Kotler, P., & Keller, K. (2012). Marketing Management (15th ed). Pearson Prentice Hall.

Lecinksi, J. (2012). Winning the zero moment of truth Zero Moment of Truth. Google.

Li, J., Tang, J., Jiang, L., Yen, D. C., & Liu, X. (2019). Economic success of physicians in the online consultation market: a signaling theory perspective. International Journal of Electronic Commerce, 23(2), 244-271.

Nunnally, J. C. (1978). Psychometric theory (2nd ed.). McGraw-Hill.

Nurul Syaqirah, Z & Putra Faizurrahman, Z. (2013). Managing Customer Retention of Hotel Industry in Malaysia. Procedia Social and Behavioral Sciences, 130, 379-389.

Park, C., & Lee, T. M. (2009). Information direction, website reputation and eWOM effect: A moderating role of product type. Journal of Business research, 62(1), 61-67.

Peñate, P. T. (2015). An innovative food truck chain, strategic planning inspired from the lean startup methodology. ISCTE - Lisbon University Institute.

Ryu, K., & Han, H. (2011). New or repeat customers: How does physical environment influence their restaurant experience?. International Journal of Hospitality Management, 30(3), 599-611.

Sanjutha Jamroonwat. (2016). Factors Affecting Food Truck Selection of Customers in Bangkok. [Master’s Independent study]. Thammasat University.

Wcisel Kamila. (2014). The Emergence Of A New Type Of Consumer–Mobile Prosumer. activemobi. http://activemobi.com/blog/the-emergence-of-a-new-type-of-consumer-mobile-prosumer

Wernerfelt, B. (1990). Advertising content when brand choice is a signal. Journal of Business, 63(1), 91-98.

Zeithaml, V. A., Berry, L.L., & Parasuraman, A. (1993). The nature and determinants of customer expectations of service. Journal of the academy of marketing science, 21(1), 1-12.

Downloads

เผยแพร่แล้ว

2022-12-28

How to Cite

เสริมบุญสร้าง เ., & ณ สงขลา ก. (2022). การวิเคราะห์ปัจจัยเชิงองค์ประกอบของเนื้อหาข่าวสารในสื่อสังคมออนไลน์ต่อการตัดสินใจเลือกร้านอาหารของคนวัยทำงานในประเทศไทย. Maejo Business Review, 4(2), 109–133. https://doi.org/10.14456/mjba.2022.10