CONSUMER SEGMENTATION OF ENVIRONMENTALLY FRIENDLY PRODUCTS IN THE LIGHT OF ENVIRONMENTAL PERCEPTION

Main Article Content

อินทกะ พิริยะกุล
จุฑาทิพย์ เตชางกูล
นิฤมล มณีสว่างวงศ์
ระพีพรรณ พิริยะกุล

บทคัดย่อ

งานวิจัยนี้เป็นการศึกษาพื้นฐานทางประชากรศาสตร์ พฤติกรรมการบริโภคสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมโดยสินค้าที่ศึกษาคือสินค้าอุปโภค/บริโภคในครัวเรือนที่เป็นกลุ่มที่สร้างมลภาวะมากในเขต กรุงเทพมหานครฯ กลุ่มที่ศึกษาคือประชากรอายุตั้งแต่ 20 ปีขึ้นในเขตกรุงเทพฯและปริมณฑลจํานวน 342 คนโดยใช้แบบสอบถาม ประเด็นการศึกษาคือการรับรู้สินค้าที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อมใน 3 องค์ ประกอบคือ (1) สัญลักษณ์ของสินค้า (symbolic) เช่นบรรจุภัณฑ์ สี ขนาด (2) หน้าที่การใช้งานสินค้า เช่น ใช้แล้วก่อให้เกิดมลภาวะ หรือมีผลข้างเคียงเช่นยาฆ่าแมลง และ (3) ด้านอารมณ์ที่เกิดจากการรับรู์ การซื้อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเช่นมีความสุข หรือถูกยกย่อง การแบ่งกลุ่มผู้บริโภคโดยใช้พฤติกรรม การซื้อสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมด้วยเทคนิค K-Mean แล้ววิเคราะห์หาคุณสมบัติของผู้บริโภคแต่ละกลุ่มโดยใช้ ID Tree และเปรียบเทียบระดับการรับรู้สินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมใน 3 ด้าน คือด้าน สัญลักษณ์ หน้าที่ และ คุณค่าทางอารมณ์ด้วยวิธี Man Whitney Test ผลการวิเคราะห์พบว่าสามารถแบ่งกลุ่มผู้บริโภคสินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมได้เป็น 2 กลุ่มคือ active และ non- active และได้คุณสมบัติทางประชากรศาสตร์ของแต่ละกลุ่มโดยใช้กฎ 14 ข้อที่ได้จาก ID Tree การทดสอบความแตกต่างในระดับการรับรู้สินค้าที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมทั้ง 3 ด้านปรากฏว่ากลุ่ม active มีระดับการรับรู้มากว่าในระดับนัยสําคัญยิ่ง 1%

Article Details

บท
บทความวิจัย (Research Article)

References

Aaker J.L., (2002). Dimensions of brand personality. Journal of Marketing Research, 34, 347-356.

Brown, J.J., Rerngero, P.H., (1997). Social ties and word-of-mouth referral behavior. Journal of Consumer Research,
14, 350-360.

Bruner, G. C., Hensel, P. J., & James, K. E. (2005). Marketing scales handbook. A compilation of multi-item measures
for consumer behavior and advertising. Vol. IV., Chicago IL: Thomson SouthWestern.

Coddington, W. (1993). How to green up your marketing mix. Advertising Age, 61(September 3), 30-43.

Ginsberg, J. M. and P. N. Bloom, (2004). Choosing the right green marketing strategy. MIT Sloan Management Journal, 79–84.

Jansson, A., Marell, A., Nordlund A. (2011). an exploring consumer adoption of a high Involvement eco-innovation
using value-belief-norm theory. J. Consum. Behav, 10, 51–60.

Keller, K.L., (1998). Strategic Brand Management Building, Mi asuring, and Managing Brand Egeity. AE: Prentice
Hall. 29.

Keller, K.L., (2003). Strategic brand management: building veasuring and managing brand equity, NJ: Pearson
Prentice Hall.

Kotler, P., (2000). Marketing management, 11th edition. Upper Saddle River, NJ: Prentice Hall.

Lee, K. (2012). The green purchase behavior of Hong Kong young consumers, Journal of international consumer
marketing, 23, 21–44.

Ministry of Natural Resources and Environment. (2014). Thailand state of pollution report. Bangkok: Pollution Control
Department. (In Thai)

Ottaman, J.A. (2006). Green marketing: challenges and opportunities for the new marketing age. Lin col n
wood: NTC Business Books.

Peattie, Ken, Crane, A., (2005). Green marketing:legend, myth, farce or prophesy?. Qualitative Market Research:An International Journal, 8(4), 357-370.

Roberts, J. A. (1996). Green consumers in the 1990s. Journal of Business Research, 1996, 36(3), 217-231.

Roper, AS. (2002). Green gauge report 2002. NY: Roper ASW.

Rokka, J. & Uusitalo L. (2008). Preference for green packaging in consumer product choices – Do consumers care?,
International Journal of Consumer Studies, ISSN 1470-6423.

Soneryd, L., Ylva U. (2015). Green governmen tality and responsibilization, Journal Environmental Politics, 24, 2015 -
Issue 6.

Vlieger L.., Hudders L. & Gino V.e. (2012). The impact of green appeals on credibility: a mixed-method approach, 11th International conference on Research in Advertising (ICORIA 2012) : The changing role of advertising.