บทบาทนางวิสาขาในการบำรุงพระพุทธศาสนา

Main Article Content

น้อย งอกวงษ์
พระเดชขจร ขนฺติธโร

บทคัดย่อ

ความเสียสละของนางวิสาขามหาอุบาสิกาเป็นบุคคลตัวอย่างของสังคมชาวพุทธอย่างแท้จริง เพราะเป็นหญิงเบญจกัลยาณีที่สวยที่สุดคนหนึ่งของโลก มีจิตใจน้อมนำในพระพุทธโอวาทจนสามารถบรรลุธรรมด้วยวัยเพียง 7 ขวบ มีน้ำใจรอบทิศ มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีงาม มีวิสัยทัศน์ยาวไกลในการให้ทานด้วยสิ่งของที่จำเป็นและเหมาะสมแก่หมู่สงฆ์ จึงได้รับยกย่องว่าเป็นยอดของทายิกาแห่งการให้ ดังนั้น นางวิสาขาจึงมีคุณูปการที่สำคัญยิ่งในการช่วยบำรุงพระพุทธศาสนาและเผยแผ่พระธรรมคำสั่งสอนให้สืบต่อยาวนานมาจนถึงปัจจุบันนี้ อีกทั้งยังเป็นต้นแบบแก่อุบาสิกายุคใหม่ที่เพียบพร้อมไปด้วยวิชาและจรณะ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ประคอง สิงหนาทนิติรักษ์. (2516). “บทบาทของแม่ชีไทยในการพัฒนาสังคม”. วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิตคณะสังคมศาสตร์. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

ปัญญา ใช้บางยาง. (2555). 75 อุบาสก พุทธสาวกในสมัยพุทธกาล. กรุงเทพมหานคร : ธรรมสภา.

พระเทพโพธิวิเทศ. (2556). วิสาขามหาอุบาสิกา. กรุงเทพมหานคร : พริ้นท์ซิตี้.

พระเทพเวที (ประยุทธ์ ปยุตโต). (2559). หนังสือ 75 อุบาสกพุทธสาวกในสมัยพุทธกาล. กรุงเทพมหานคร : ธรรมสภา.

พระมหากมล ถาวโร (มั่งคํามี). (2543) “สถานภาพสตรีในพระพุทธศาสนา”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (2539) พระไตรปิฎกฉบับภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

มูลนิธิพุทธศาสนศึกษา. (2551). “ประวัติความเป็นมาของพระอภิธรรม” ในธรรมะเพื่อชีวิต ฉบับวันขึ้นปีใหม่ 2551. กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิพุทธศาสนศึกษา วัดบูรณศิริมาตยาราม.

วนิดา ฉายาสูตบุตร. (2550). “การศึกษาเชิงวิเคราะห์บทบาทของนางสามาวดีที่ปรากฏในคัมภีร์พระพุทธศาสนาเถรวาท”. วิทยานิพนธ์พุทธศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

วีรนุช พรมจักร. (2560). บทบาทสตรีในพระพทธศาสนาสมัยพุทธกาล. มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย วิทยาเขตศรีล้านช้าง.