พระพุทธศาสนากับสังคมล้านช้าง
Main Article Content
บทคัดย่อ
ล้านช้าง เป็นอาณาจักรที่มีความยิ่งใหญ่รัฐหนึ่งในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่นเดียวกับสุโขทัย และอยุธยาของประเทศไทย ตามพงศาวดารลาวได้กล่าวว่า อาณาจักรล้านช้าง เริ่มก่อตั้งขึ้นในสมัยขุนลอ โดยพระองค์ได้เข้ายึดเมืองชวา (หลวงพระบาง) จากขุนกันราง และได้จัดตั้งเมืองชวาขึ้นเป็นราชธานีของล้านช้างในปี พ.ศ. 1300 แล้วได้เปลี่ยนชื่อจากเมืองชวาเป็น “เมืองเชียงทอง” ตั้งแต่นั้นมา ชนชาติลาวก็เริ่มอพยพเข้ามาอาศัยอยู่ในดินแดนล้านช้างกันมากขึ้น ซึ่งภายหลังจากรัชกาลของขุนลอ อาณาจักรล้านช้างก็ได้มีกษัตริย์ปกครองต่อมาอีกหลายพระองค์ จนกระทั่งมาถึงสมัยของพระเจ้าฟ้างุ้ม (พ.ศ.1896-1916) เป็นระยะที่อาณาจักรล้านช้างขยายอาณาเขตแผ่อิทธิพลออกไปอย่างกว้างขวาง โดยเฉพาะในปี พ.ศ.1904 อาณาเขตของล้านช้างได้ขยายมากขึ้นจนสามารถผนวกดินแดนที่เรียกว่า “อีสาน” ของไทย ในปัจจุบันบางส่วนเป็นส่วนหนึ่งของอาณาจักรล้านช้าง
Article Details
References
กรมศิลปากร. (2515). ประชุมศิลาจารึก ภาคที่ 1. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภา.
คุรุสภา. (2512). ประชุมพงศาวดารภาค 70 : นิทานเรื่องขุนบรม. กรุงเทพมหานคร : คุรุสภา.
จารุวรรณ ธรรมวัตร. (2529). พงศาวดารแห่งประเทศลาว. มหาสารคาม : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม.
จิตร ภูมิศักดิ์. (2519). ความเป็นมาของคำสยาม ไทย ลาวและขอม และลักษณะทางสังคมของชื่อชนชาติ. กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์.
จรัส พยัคฆราชศักดิ์. (2534). อีสาน 1 ศาสนาและวรรณกรรมนิยมในท้องถิ่น. กรุงเทพมหานคร : โอ.เอส.พริ้นติ้ง เฮ้าส์.
เติม วิพากษ์พจนกิจ, (2530). ประวัติศาสตร์ลาว. กรุงเทพมหานคร : มูลนิธิโครงการการตำราสังคมศาสตรและมนุษยศาสตร์.
ทรงคุณ จันทจร. (2548). การศึกษาเปรียบเทียบพัฒนาการจัดการศึกษาและศาสนาเพื่อความร่วมมือในการพัฒนารูปแบบ และกระบวนการศึกษาและศาสนาระหว่างไทย-ลาว.
ทองสืบ ศุภมาร์ก (ปริวรรต). (2528). ตามพงศาวดารลาว. กรุงเทพมหานคร : องค์การค้าคุรุสภา.
ธวัช ปุณโณทก. (2530). ศิลาจารึกอีสานสมัยไทย-ลาว. กรุงเทพมหานคร : คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง.
ธิดา สาระยา. (2537). รัฐโบราณในภาคพื้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ : กำเนิดและพัฒนาการ. กรุงเทพมหานคร : ด่านสุทธาการพิมพ์.
สิริวัฒน์ คำวันสา. (2522). อิทธิพลวัฒนธรรมอินเดียในเอเชียอาคเนย์. กรุงเทพมหานคร : อักษรเจริญทัศน์.
สีลา วีระวงศ์ (ปริวรรต). (2535). ตำนานขุนบรมราชาธิราช.เวียงจันทร์:สำนักพิมพ์ไผ่หนาม.
สุจิตต์ วงษ์เทศ. (2538). ท้าวฮุ่ง ท้าวเจืองวีรบุรุษสองฝั่งโขง. กรุงเทพมหานคร : พิฆเณศพริ๊นติ้ง เซ็นเตอร์.
สงวน รอดบุญ. (2526). พุทธศิลปะลาว. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์กรมศาสนา.
สิริวัฒน์ คำวันสา. (2512). อีสานคดี. กรุงเทพมหานคร : โรงพิมพ์ไพศาลศิริ.
อรรถ นันทจักร. (2531). กฎหมายอีสานฉบับต่างๆ : รูปแบบและพัฒนา. อุบลราชธานี : ศูนย์วัฒนธรรมอีสานโรงเรียนอำนาจเจริญ.
บุญมี เทบสีเมือง. (2553). ความเป็นมาของชนชาติลาว การตั้งถิ่นฐานและสถาปนาอาณาจักร. กรุงเทพมหานคร : สุขภาพใจ.
มหาคำจำปา แก้วมณี และคณะ. (2539). ประวัติศาสตร์ลาว. ขอนแก่น :มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
สิลา วีระวงส์. (2540). ประวัติศาสตร์ลาว ฉบับกระทรวงศึกษาธิการ. กรุงเทพมหานคร : มติชน.
ชัยมงคล จินดาสมุทร์. (2532). “การศึกษารูปแบบทางสถาปัตยกรรมของพระธาตุพนม และพระธาตุอื่นๆ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทย”. ใน วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาไทยคดีศึกษา : มหาวิทยาลัยศรีนครินทรวิโรฒ มหาสารคาม.
ปิยฉัตร์ สินธุสะอาด. (2540). “สังคมล้านช้างตั้งแต่ปลายพุทธศตวรรษที่ ๒๑ ถึงต้นพุทธศตวรรษที่ ๒๓”.ใน วิทยานิพนธ์ปริญญาศิลปศาสตรมหาบัณฑิต คณะศิลปศาสตร์ : มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.
พระสมศักดิ์ ปิยธมฺโม (อินทเสน). (2554). “อิทธิพลของพระพุทธศาสนา ที่มีต่อสังคมลาวในแขวงจำปาสักสาธารณะรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว”. ใน วิทยานิพนธ์ปริญญาพุทธศาสตรมหาบัณฑิต : มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.
ยุวรี อภิรักษ์ภูสิทธิ์. (2527). “การศึกษาเชิงวิเคราะห์วรรณกรรมเรื่องขุนบรม”.ใน วิทยานิพนธ์ปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต. คณะอักษรศาสตร์ : จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
Le Then Khoi. (1981). History du Vietnam des Origines a 1858. Paris.
มหาคำ จำปาแก้วมณี และคณะ. (2539). ประวัติศาสตร์ลาว.ขอนแก่น: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
บุญมี เทบสีเมือง. (2553). ความเป็นมาของชนชาติลาว. กรุงเทพมหานคร : สำนักพิมพ์สุขภาพใจ.
มหาสิลา วีระวงส์. (2540). ประวัติศาสตร์ลาว ฉบับกระทรวงศึกษาธิการ, แปลโดย สมชาย นิลอาธิ, (กรุงเทพมหานคร : มติชน.
อรรถ นันทจักร. (2531). กฎหมายอีสานฉบับต่างๆ : รูปแบบและพัฒนา, (อุบลราชธานี : ศูนย์วัฒนธรรมอีสานโรงเรียนอำนาจเจริญ.
Evans. (1999). Grant, Laos Culture and Society, (Bangkok : O.s.Printing House.