ความสัมพันธ์ระหว่างการกล่อมเกลาทางการเมือง กับวัฒนธรรมทางการเมือง

Main Article Content

พระศิลาศักดิ์ สุเมโธ (บุญทอง)
บุญฤทธิ์ เพ็ชรวิศิษฐ์

บทคัดย่อ

บทความนี้มีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายความสัมพันธ์ระหว่างการกล่อมเกลาทางการเมืองกับวัฒนธรรมทางการเมือง จากการศึกษาพบว่าการกล่อมเกลาทางการเมืองและวัฒนธรรมทางการเมืองมีอิทธิพลต่อพฤติกรรมของบุคคลที่แสดงออกต่อการเมือง ซึ่งนำไปสู่การสร้างบุคลิกภาพทั้งทางตรงและทางอ้อม การกล่อมเกลาทางสังคมเป็นกระบวนการทางสังคมที่ทำให้บุคคลมีบุคลิกภาพตามแนวทางที่สังคมต้องการ โดยมีตัวแทนของสังคมที่ทำหน้าที่ในการกล่อมเกลา อาทิ ครอบครัว กลุ่มเพื่อน สถานศึกษา ศาสนา เป็นต้น เพื่อให้บุคคลทราบถึงคุณธรรม อุดมคติ บรรทัดฐาน และขนบธรรมเนียมประเพณีที่ใช้อยู่ในสังคม ส่วนวัฒนธรรมทางการเมืองเป็นความสัมพันธ์ระหว่างสมาชิกของสังคมการเมืองกับสังคมการเมืองในเชิงจิตวิทยา ที่สังคมต้องการปลูกฝังให้เป็นอุดมการณ์ของสมาชิกในสังคมตามบริบทของแต่ละสังคมการเมือง

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

ชนิดา จิตตรุทธะ. (2556). วัฒนธรรมปิระมิดกับการทำให้เป็นประชาธิปไตย. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ฌานิทธิ์ สันตะพันธ์. (2559). วัฒนธรรมทางการเมืองของไทย: รัฐธรรมนูญที่แท้จริงซึ่งไม่เคยถูกยกเลิก. เรียกใช้เมื่อ 25 กรกฎาคม 2559 จาก http://www.pub-law.net/ publaw/view.aspx?id=1014

ทินพันธุ์ นาคะตะ. (2543). ประชาธิปไตยไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 2). กรุงเทพมหานคร: โครงการเอกสารและตำราคณะรัฐประศาสนศาสตร์ สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.

นิธิ เอียวศรีวงศ์. (30 มิถุนายน 2554). พื้นที่สาธารณะ. มติชนสุดสัปดาห์, หน้า 51.

บรรจง กลิ่นสงวน. (2547). การกล่อมเกลาทางการเมืองและทัศนคติทางการเมืองแบบประชาธิปไตย ของนิสิตระดับปริญญาตรี คณะสังคมศาสตร์ มหาวิทยาลัย เกษตรศาสตร์. ใน วิทยานิพนธ์ศิลปศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชารัฐศาสตร์. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

พระเดชขจร ขนฺติธโร (ภูทิพย์). (2560). รัฐศาสตร์วัฒนธรรม : แนวคิด หลักการและกระบวนทัศน์เพื่อการพัฒนาประชาธิปไตย. ใน รายงานการวิจัย. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พฤทธิสาณ ชุมพล. (2547). ระบบการเมือง : ความรู้เบื้องต้น. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ลิขิต ธีรเวคิน. (2539). การเมืองการปกครองไทย. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

วรรณธรรม กาญจนสุวรรณ. (2544). วัฒนธรรมทางการเมือง การเมืองการปกครองไทยตามรัฐธรรมนูญ ฉบับประชาชน. กรุงเทพมหานคร: วี .เจ. พริ้นติ้ง.

วิวัฒน์ เอี่ยมไพรวัน. (2540). การคลังและงบประมาณ. (พิมพ์ครั้งที่ 14). นนทบุรี: มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช.

สมบัติ ธํารงธัญวงศ์. (2549). การเมืองการปกครองไทย พ.ศ.1762-2500. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร: เสมาธรรม.

สิทธิพันธ์ พุทธหุน. (2544). ทฤษฎีพัฒนาการเมือง. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

Almond, Gabriel A. and G. Bringham Powell. (1966). Comparative Politics : A Developmental Approach. Boston: Little Brown.

Dawson, Richard E., and Prewitt, Kenneth. (1969). Political Socialization. Boston: Little Brown and Co.

Easton, David and Dennis, Jack. (1969). Children in the Political System. New York: McGraw – Hill.

Huntington, Samuel. (1969). Political Order in Changing Societies. Connecticut: Yale University Press.

Langton, Kenneth P. (1969). Political Socialization. Oxford: Oxford University Press.