การปลูกจิตสำนึกทางจริยธรรมในสังคมไทย

Main Article Content

สมเดช นามเกตุ
พระศิลาศักดิ์ สุเมโธ (บุญทอง)
พระณัฐพงษ์ สิริสุวณฺโณ (จันทร์โร)

บทคัดย่อ

ปัจจุบันสังคมไทยกำลังประสบปัญหาคนในสังคมเสื่อมถอยจริยธรรม ตั้งแต่ระดับนักการเมือง ข้าราชการ คนในแวดวงอาชีพอื่น ๆ เช่น การทุจริตคอรัปชั่น การก่ออาชญากรรม การเสพและค้ายาเสพติด ไม่เว้นแม้แต่ในกลุ่มเยาวชนตั้งแต่ระดับประถมจนถึงระดับอุดมศึกษา ปัญหาความเสื่อมถอยทางจริยธรรมจึงเป็นปัญหาเร่งด่วน ที่คนในสังคมทุกภาคส่วนจะต้องร่วมมือกันแก้ไข โดยเริ่มจากครอบครัว พ่อแม่ ครู ผู้บริหาร นักการเมือง ผู้นำสังคม ผู้นำประเทศ บุคคลสาธารณะ ต้องเป็นแบบอย่างที่ดีในทางจริยธรรม และการนำหลักคำสอนทางพระพุทธศาสนามาประพฤติปฏิบัติ หลักธรรมทางพระพุทธศาสนาที่ควรนำมาเป็นทฤษฎี     เพื่อพัฒนาจริยธรรม คือ หลักไตรสิกขา และมงคล 38 ประการ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

Love You. (2554). องค์ประกอบของจริยธรรม. เรียกใช้เมื่อ 10 มีนาคม 2561 จาก http://giflovegoft.blogspot.com/2011/06/1.html

เจริญ ไวรวัจนกุล. (2531). ความเป็นครู. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์ส่งเสริมวิชาการ.

แก้วเวียง นานาผล และคณะ. (2557). บทสรุปผู้บริหารรายงานการวิจัย เรื่อง ข้อเสนอเชิงนโยบาย การพัฒนาคุณธรรมจริยธรรม เด็กไทย “โตไปไม่โกง”. ใน รายงานวิจัย. สำนักงานเลขาธิการวุฒิสภา.

จุรีพร กาญจนการุณ. (2552). คุณธรรมจริยธรรมและการใช้เหตุผลเชิงจริยธรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี. วารสารวชาการ วิทยาลัยแสงธรรม, 1 (1), 95-109.

ณรงค์ โชควัฒนา. (2542). เศรษฐกิจชุมชนทางเลือกเพื่อทางรอดสังคมไทย. กรุงเทพมหานคร : อมรินทร์พรินติ้ง แอนด์ พับลิชชิ่ง.

ดวงเดือน พันธุมนาวิน. (2523). พฤติกรรมศาสตร์เล่ม 2 จิตวิทยาจริยธรรมและจิตวิทยาการศึกษา. กรุงเทพมหานคร: ไทยวัฒนาพานิช.

ดวงเดือน พันธุมนาวิน. (2524). จิตวิทยาจริยธรรมและจิตวิทยาภาษา. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ไวยวัฒนาพานิช.

บุญมี แท่นแก้ว. (2539). จริยศาสตร์ทั่วไป. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์โอเดียนสโตร์.

ปราชญ์ กล้าผจญ. (2544). คุณธรรมจริยธรรมจรรยาบรรณวิชาชีพ. กรุงเทพมหานคร: เยลโล่การพิมพ์.

พรนพ พุกกะพันธุ์. (2543). ภาวะผู้นำและการจูงใจ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์จามจุรีโปรดักท์.

พระธรรมธีรราชมหามุนี (โชดาญาณสิทธิ ป.ธ.9). (2546). มงคล 38 ประการ. (พิมพ์ครั้งที่ 8). กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย.

พระธรรมปิฎก (ป.อ.ปยุตฺโต). (2538). ธรรมกับการศึกษาของไทย. กรุงเทพมหานคร: สหธรรมิก.

ราชบัณฑิตยสถาน. (2542). พจนานุกรมฉบับราชบัณฑิตยสถาน พ.ศ. 2525. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์.

วิทย์ วิศทเวทย์ และเสฐียรพงษ์ วรรณปก. (2533). พระพุทธศาสนา ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6. กรุงเทพมหานคร: อักษรเจริญทัศน์.

วิลาส ลักษณ์ชัววัลลี. (2552). จริยธรรมในเด็กและเยาวชน. วารสารพฤติกรรมศาสตร์, 15 (1), 16-27.

ศิณาภรณ์ หู้เต็ม. (2552). พฤติกรรมด้านคุณธรรมจริยธรรมของนักศึกษาในระดับปริญญาตรี วิทยาลัยราชพฤกษ์. ใน รายงานการวิจัย. วิทยาลัยราชพฤกษ์.

สงวน สิทธิเลิศอรุณ. (2526). ปรัชญาและคุณธรรมสำหรับครู. (พิมพ์ครั้งที่ 3). กรุงเทพมหานคร: อักษรบัณฑิต.

สำนักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ สำนักนายกรัฐมนตรี. (2560). แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564). กรุงเทพมหานคร: แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ.

สุชาติ ประสิทธิ์รัฐสินธุ์. (2539). ตัวบ่งชี้การปฏิบัติงานที่เหมาะสมสำหรับการตรวจสอบผลการปฏิบัติงานโครงการและแผนงาน. วารสารวิจัยการศึกษา, 19 (6), 2.

สุพล วังสินธุ์. (2534). การเรียนรู้แบบร่วมมือร่วมใจ. วารสารวิชาการ, 3 (4), 79-82.

อังคณา เชื้อสมุทร. (2555). การปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม กับความคาดหวังของสังคมไทย. เรียกใช้เมื่อ 6 กุมภาพันธ์ 2561 จาก http://chursamut16.blogspot.com/2012/08/blog-post.html#more