ภาวะผู้นำ : การบริหารวิชาการสู่การศึกษายุค 4.0

Main Article Content

พระมหาอุดร อุตฺตโร
ทองดี ศรีตระการ
พระณัฐพงษ์ ญาณเมธี (ไกรเทพ)

บทคัดย่อ

Thailand 4.0 โมเดลขับเคลื่อนสู่ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน เป็นโจทก์ของคนไทยทุกคนที่จะต้องร่วมกันขับเคลื่อนเพื่อไปสู่การพัฒนาประเทศด้วยการสร้างนวัตกรรม หรือให้เท่าทันโลกยุคโลกาภิวัตน์นั้นเอง และองค์กรหนึ่งที่มีความสำคัญในการขับเคลื่อน คือ สถาบันการศึกษา ดังนั้น ภาวะผู้นำกับการศึกษายุค 4.0 จึงเป็นสิ่งที่ผู้บริหาร ครู บุคลากรทางการศึกษาจะต้องเห็นความสำคัญ และสร้างแรงจูงใจในการบริหารงานวิชาการลงไปสู่ผู้เรียนได้อย่างถูกต้อง เพื่อให้เกิดนวัตกรรม และเทคโนโลยีในการพัฒนาประเทศต่อไป


 

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

Edmonds. (1979). Some schools work and more can. Social Policy, 9, 28-32.

เพชริน สงค์ประเสริฐ. (2551). การพัฒนารูปแบบการบริหารงานวิชาการโดยยึดหลักการทำงานเป็นทีมในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. วารสารศึกษาศาสตร์, 30 (2), 48-64.

ไพฑูรย์ สินลารัตน์ และคณะ. (2559). คิดผลิตภาพ : สอนและสร้างได้อย่างไร. กรุงเทพมหานคร: มหาวิทยาลัยธุรกิจบัณฑิตย์.

กระทรวงศึกษาธิการ. (2553). คู่มือการดำเนินงาน โครงการโรงเรียนดีประจำตำบล. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์ชุมชนสหกรณ์การเกษตรแห่งประเทศไทย.

กัลยาภรณ์ ดารากร ณ อยุธยา. (2554). ความสัมพันธ์ระหว่างรูปแบบภาวะผู้นำ วัฒนธรรมองค์การกับความคิดสร้างสรรค์ของบุคคล ศึกษาธนาคารพาณิชย์ในเขตจังหวัดนครปฐม. ใน วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาการประกอบการ. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ดารุณี บุญครอง. (2560). วิเคราะห์แนวทางการจัดการศึกษาไทยกับการขับเคลื่อนการศึกษา สู่ยุคไทยแลนด์ 4.0. สารอาศรมวัฒนธรรมวลัยลักษณ์, 17 (2), 1-25.

ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์. (2561). ครูและนักเรียนในยุคการศึกษาไทย 4.0. เรียกใช้เมื่อ 2561 เมษายน 30 จาก วารสารอิเล็กทรอนิกส์ การเรียนรู้ทางไกลเชิงนวัตกรรม: http://e-jodil. stou.ac.th/Page/Home.aspx

ทักษิณา เหลืองทวีผล. (2551). การบริหารตามหลักธรรมาภิบาลของผู้บริหารสถานศึกษา สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษานครสวรรค์ เขต 3. ใน วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. มหาวิทยาลัยราชภัฏเทพสตรี.

ทิมมิกา เครือเนตร. (2554). ภาวะผู้นำกับแรงจูงใจในการทำงานของพนักงาน บริษัท ไทยฟู้ดส์ กรุ๊ป จำกัด. ใน วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ. มหาวิทยาลัยราชภัฎวไลยอลงกรณ์.

ทิศนา แขมมณี. ( 2559). ศาสตร์การสอน : องค์ความรู้เพื่อการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่มีประสิทธิภาพ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ธัญญามาส โลจนานนท์. (2557). ภาวะผู้นำและแรงจูงใจในการทำงานที่ส่งผลต่อความคิดสร้างสรรค์ของพนักงาน กรณีศึกษา บริษัท ซิลลิคฟาร์มา จำกัด. ใน วิทยานิพนธ์บริหารธุรกิจมหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ. มหาวิทยาลัยศิลปากร.

ธีระ รุญเจริญ. (2549). ความเป็นมืออาชีพของผู้บริหารสถานศึกษาสภาพปัญหาความจำเป็นและแนวปฏิบัติ. กรุงเทพมหานคร: ข้าวฟ่าง.

ปรียาพร วงศ์อนุตรโรจน์. (2553). การบริหารวิชาการ. กรุงเทพมหานคร: ศูนย์สื่อเสริมกรุงเทพ.

พระพรหมคุณาภรณ์ (ป.อ.ปยุตฺโต). (2546). ภาวะผู้นำ ความสำคัญต่อการพัฒนาคน พัฒนาประเทศ. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสภา.

พวงทิพย์ นวลขาว. (2538). ความสัมพันธ์ระหว่างแบบภาวะผู้นำกับความพึงพอใจในการปฏิบัติงานของพนักงานคุมประพฤติ กรมคุมประพฤติ กระทรวงยุติธรรม. ใน วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชาสังคมสงเคราะห์ศาสตร์. มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์.

พิมพันธ์ เดชะคุปต์ และพเยาว์ ยินดีสุข. (2560). สอนเขียนแผนบูรณาการบนฐานเด็กเป็นสำคัญ. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์แห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

รังสรรค์ ประเสริฐศรี. (2549). การจัดการสมัยใหม่ (Modem Management). กรุงเทพมหานคร: บริษัทธรรมสาร จำกัด.

วรางคณา กาญจนพาที. (2556). ภาวะผู้นำและภาวะผู้ตามที่มีอิทธิพลต่อประสิทธิผลองค์กร กรณีศึกษา ธนาคารเพื่อการส่งออกและนำเข้าแห่งประเทศไทย. ใน วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต สาขาวิชาบริหารธุรกิจ. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี.

วิเชียร วิทยาอุดม. (2548). ภาวะผู้นำ Leadership ฉบับก้าวล้ำนำยุค. กรุงเทพมหานคร: บริษัท ธีระฟิลม์และไซเท็กซ์ จำกัด.

วีรยุทธ์ ชาตะกาญจน์. (2551). เทคนิคการบริหารสำหรับนักบริหารการศึกษามืออาชีพ. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ศิริวรรณ เสรีรัตน์ และคณะ. (2545). องค์การและการจัดการ. กรุงเทพมหานคร: ธรรมสาร.

สงวน นิตยารัมภ์พงศ์ และคณสุทลักษณ์ สมิตะสิริ. (2540). ภาวะผู้นำความสำคัญต่ออนาคตไทย. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ไทย.

สมพงษ์ เกษมสิน. (2521). การบริหาร. กรุงเทพมหานคร: สำนักพิมพ์ไทยวัฒนาพานิช จำกัด.

สำนักงานคณะกรรมการประถมศึกษาแห่งชาติ. (2546). คู่มือการดำเนินการนิเทศภายในโรงเรียนประถมศึกษา. กรุงเทพมหานคร : ชวนการพิมพ์.

สุพล วังสินธุ์. (2545). การบริหารโรงเรียนตามแนวทางการปฏิรูปการศึกษา. วารสารวิชาการ, 5 (6), 29-33.

สุวิทย์ เมสินทรีย์. (2561). พิมพ์เขียวและแผนปฏิบัติการขับเคลื่อน Thailand 4.0 โมเดลขับเคลื่อนประเทศไทยสู่ความมั่นคง มั่นคั่งและยั่งยืน. เรียกใช้เมื่อ 15 มีนาคม 2561 จาก https://www.google.com/search?sxsrf=ACYBGNQoCRhDw5bo1wQA2lLuPWnNh8hXeA%3A1568261267800&ei=k8R5XfejMMnGvgSyirSIBQ&q=http%3A%2F%2Fwww.libarts.up.ac.th%2Fv2%2Fimg%2FThailand-4.0.pdf&oq=http%3A%2F%2Fwww.libarts.up.ac.th%2Fv2%2Fimg%2FThailand-4.0.pdf&gs_l=psy-

อภิภา ปรัชญพฤทธิ์. (2561). การพัฒนารูปแบบการผลิตครูเพื่อรองรับการศึกษายุค 4.0. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.