การสอนสังคมศึกษาในศตวรรษที่ 21 เพื่อส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์

Main Article Content

พระศักดิ์ดา อคฺคปญฺโญ (งานหมั่น)

บทคัดย่อ

บทความฉบับนี้ มีวัตถุประสงค์เพื่อวิเคราะห์การสอนสังคมศึกษาในศตวรรษที่ 21 เพื่อส่งเสริมทักษะความคิดสร้างสรรค์ ผลการศึกษาพบว่า ครูจึงต้องออกแบบการเรียนรู้และอำนวยความสะดวกในการเรียนรู้ ให้ผู้เรียนเรียนรู้จากการลงมือปฏิบัติ เพื่อให้ผู้เรียนเกิดทักษะการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 และโรงเรียนต้องส่งเสริมความเข้าใจเนื้อหาวิชาการให้อยู่ในระดับสูง ด้วยการสอดแทรกทักษะเพื่อการดำรงชีวิตในศตวรรษที่ 21 เข้าในวิชาหลักทุกวิชา โดยครูต้องปรับบทบาทของตนเองจากการเป็นผู้ให้ความรู้ที่เน้นการสอนตามที่ระบุไว้ในหนังสือ มาเป็นต้นแบบในการออกแบบกิจกรรมการสอน ให้มีความแปลกใหม่และน่าสนใจ ดังคำกล่าวที่ว่า แบบอย่างที่ดีมีค่ามากกว่าคำสอน เพื่อให้นักเรียนมองเห็นลักษณะของผู้มีความคิดสร้างสรรค์ และลักษณะของผลิตผลที่แสดงให้เห็นถึงความคิดสร้างสรรค์อย่างเป็นรูปธรรม เพื่อให้ผู้เรียนมีโอกาสพัฒนาทั้งความรู้ในเนื้อหาวิชาและทักษะต่าง ๆ ที่สอดคล้องกับบริบทจริงและสามารถนำไปใช้ในชีวิตจริง

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

กนก จันทร์ทอง. (2560). การสอนสังคมศึกษาในศตวรรษที่ 21. วารสารวิทยบริการ มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์, ปีที่ 28 ฉบับที่ 2 (พฤษภาคม-สิงหาคม 2560), 231.

กระทรวงศึกษาธิการ. การเรียนรู้ในศตวรรษที่ 21. (15 มิถุนายน 2562). เข้าถึงได้จาก http://www.moe.go.th/moe/th/news/detail.php?NewsID=38880&Key=news_research:

กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551. (10 มิถุนายน 2562). เข้าถึงได้จาก http://academic.obec.go.th/newsdetail.php?id=75

กระทรวงศึกษาธิการ. หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 (15 มิถุนายน 2562). เข้าถึงได้จาก http://www.mengrai.ac.th/ebooktrain/sara.doc:

คณะกรรมการส่งเสริมการจัดสวัสดิการสังคมแห่งชาติ. (12 มิถุนายน 2562). เข้าถึงได้จาก https://www.gotoknow.org/posts/57531%20 :

ทวีศักดิ์ จินดานุรักษ์. (16 มิถุนายน 2562). การจัดการศึกษา 4.0 กับการพัฒนาประเทศที่ยั่งยืน. เข้าถึงได้จาก http://docs.wixstatic.com/ugd/73fa4a_e11c0905eac54d08a22978a32242dc9f.pdf

ทิศนา แขมมณี. (2558). ศาสตร์การสอน. กรุงเทพมหานคร: จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ปรเมธี วิมลศิริ. ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี. (15 มิถุนายน 2562). เข้าถึงได้จาก http://www.oic.or.th/sites/default/files/institute/course/85449/public/yuththsaastrchaati_20_pii_naakhtpraethsaithy_khpph_26_skh_59.pdf:

ไพศาล สุวรรณน้อย. การเรียนรู้โดยใช้ปัญหา เป็นฐาน (Problem–based Learning:PBL). (15 มิถุนายน 2562). เข้าถึงได้จาก https://ph.kku.ac.th/thai/images/file/km/pbl-he-58-1.pdf:

ลักขณา สริวัฒน์. (2549). การคิด (Thinking). กรุงเทพมหานคร: โอเดียนสโตร์.

วสันต์ สว่างศรีงาม. (2555). สร้างทักษะให้ผู้เรียนพร้อมสู้ศตวรรษที่ 21. วารสาร School in focus ปีที่ 11 ฉบับที่ 4 , 4-7.

วิจารณ์ พานิช. (2555). วิถีสร้างการเรียนรู้เพื่อศิษย์ในศตวรรษที่ 21. กรุงเทพมหานคร: มูลนิธิสดศรี-สฤษด์วิงศ์.

สุวิทย์ เมษินทรีย์.โมเดลประเทศไทย 4.0. (10 มิถุนายน 2562). เข้าถึงได้จาก http://www.thansettakij.com/2015/08/31/9301

Daud, A. M., Omar, J., Turiman, P., and Osman, K. (2012). Creativity in Science Education. Procedia - Social and Behavioral Sciences, 59, (2012) , (pp. 467-474).

Gagne, R.M., and Briggs, L. (1974). Principle of Instruction Design. New York: Holt Rinehart and Winston.

Park, J. (2011). Scientific Creativity in Science Education. Journal of Baltic Science Education, 144-145.

Vivian M.C.. (2004). Developing Physics Learning Activities for Fostering Student Creativity in Hong Kong Context. Asia-Pacific Forum on Science Learning and Teaching. 5 (2), 1-33.