รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา

Main Article Content

พระศักดา ชนาสโภ (สมณวัฒนา)
ระวิง เรืองสังข์
อินถา ศิริวรรณ

บทคัดย่อ

บทคัดย่อ


         บทความวิจัยนี้ มีวัตถุประสงค์ 1) เพื่อศึกษาสภาพภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา 2) เพื่อสร้างรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา 3) เพื่อนำเสนอรูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณตามหลักพรหมวิหาร 4 ของผู้บริหารโรงเรียนในสังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา การวิจัยนี้เป็นการวิจัยแบบผสานวิธี เครื่องมือการวิจัยประกอบด้วย 1) การศึกษาเอกสาร  2) ใช้แบบสอบถามสภาพปัจจุบันและปัญหา กลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้อำนวยการสถานศึกษา หรือหัวหน้าฝ่ายหรือครูจำนวน 400 ได้รับแบบสอบถามกลับคืนมา 390 3) สัมภาษณ์ผู้ทรงคุณวุฒิโดยเลือกเฉพาะเจาะจง จำนวน 5 คน 4) การสนทนากลุ่ม ผู้ทรงคุณวุฒิ 9 รูป/คน และ 5) ใช้แบบสอบถาม สอบถามกลุ่มตัวอย่างที่เป็นผู้อำนวยการสถานศึกษาหรือรักษาการในตำแหน่งผู้อำนวยการสถานศึกษาจำนวน 395 ได้รับแบบสอบถามกลับคืนมา  356  และได้วิเคราะห์เนื้อหา หาค่าร้อยละ ค่าเฉลี่ย ส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน และการวิเคราะห์ความต้องการจำเป็น


         ผลการวิจัย พบว่า 1) โดยภาพรวม พบว่า (1) มีความจำเป็นเท่ากันสองด้าน คือ ด้านความไว้วางใจ และด้านความศรัทธา (2) คือ ด้านความหวัง และ (3) คือ ด้านวิสัยทัศน์ 2) โดยภาพรวมอยู่ในระดับมากที่สุด เมื่อพิจารณาเป็นรายด้านจากมากไปหาน้อย ได้แก่ ด้านความเป็นประโยชน์ ด้านความถูกต้อง ส่วนด้านความเหมาะสม และด้านความเป็นไปได้ อยู่ในระดับมากตามลำดับ
3) ส่วนประกอบของรูปแบบ 5 ส่วน ประกอบด้วย ส่วนที่ 1 หลักการ ส่วนที่ 2 วัตถุประสงค์ ส่วนที่ 3 ตัวแบบการพัฒนาภาวะผู้นำเชิงจิตวิญญาณตามหลักพรหมวิหาร 4 ส่วนที่ 4 การนำรูปแบบไปใช้ ส่วนที่ 5 เงื่อนไขแห่งความสำเร็จ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

เอกสารอ้างอิง

กระทรวงศึกษาธิการ. (2542). ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยคณะกรรมการสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2543. [ม.ป.ท.]: สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน.

กอปรเชษฐ ตยัคคานนท์. (2544). หลักจิตวิทยาการบริหาร. (พิมพ์ครั้งที่ 4). กรุงเทพมหานคร: เปลวอักษร.

จินตนา ศรีสารคาม. (2554). การวิจัยและพัฒนาโปรแกรมพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการในสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน. ใน วิทยานิพนธ์ศึกษาศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

ไชยา ภาวะบุตร. (2555). ภาวะผู้นำทางวิชาการในสถานศึกษา. ใน วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

ณัฏฐพันธ์ เขจรนันทน์. (2552). พฤติกรรมองค์การกรุงเทพบริษัทดีพริ้นท์. กรุงเทพมหานคร: บริษัท วี พริ้นท์ (1991) จำกัด.

ดำรง มูลป้อน. (2556). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำทางวิชาการของผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็กเขตตรวจราชการที่ 11 สังกัดสำนักงานคณะกรรมการ การศึกษาขั้นพื้นฐาน. ใน วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

นงลักษณ์ เรือนทอง. (2550). รูปแบบการบริหารโรงเรียนที่มีประสิทธิผล. ใน ดุษฎีนิพนธ์ปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยศิลปากร.

บุญมี ก่อบุญ. (2553). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำทีมของผู้บริหารโรงเรียนสังกัดสำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ. ใน วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

ประภาศรี สุขเงิน. (2547). การสร้างบรรยากาศในโรงเรียน. วารสารข้าราชการครูและบุคลากรทางการศึกษา, 24 (1).

ฤทัยทรัพย์ ดอกคำ. (2553). รูปแบบการพัฒนาภาวะผู้นำของผู้บริหารโรงเรียนขนาดเล็กที่ส่งผลต่อประสิทธิผลโรงเรียน. ใน วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาภาวะผู้นำทางการบริหารการศึกษา. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.

วรรณลัดดา ถิ่นกลาง. (2556). การเป็นผู้นำทางวิชาการการบริหารจัดการทางการศึกษา. ใน รายงานการวิจัย. มหาวิทยาลัยราชภัฏนครราชสีมา.

วิษณุ จุลวรรณ. (2547). การวิเคราะห์องค์ประกอบของภาวะผู้นำการวิชาการของผู้บริหารสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัดสำนักงานการประถมศึกษาจังหวัดสระบุรี. ใน วิทยานิพนธ์ครุศาสตรมหาบัณฑิต สาขาบริหารการศึกษา. สถาบันราชภัฏพระนครศรีอยุธยา. พระนครศรีอยุธยา.

วีณา เอื้อศิรินุเคราะห์ และคณะ. (2545). ทิศทางในการพัฒนาทักษะทางการบริหารของผู้บริหารมหาวิทยาลัยมหิดล. ใน รายงานการวิจัย. นครปฐม: มหาวิทยาลัยมหิดล.

สำนักข่าว Thai PBS. (2566). ปฏิรูปการศึกษา เส้นทางยังอีกยาวไกล. เรียกใช้เมื่อ 23 พฤษภาคม 2567 จาก https://www.thaipbs.or.th/news/content/333481.

สิร์รานี วสุภัทร. (2551). ภาวะผู้นำและสมรรรถนะของผู้บริหารสถานศึกษาที่ส่งผลต่อความสำเร็จของการบริหารโดยใช้โรงเรียนเป็นฐาน. ใน วิทยานิพนธ์ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต. มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.

Dessler. (2002). Seven Steps to Effective Instuctional Leadership. California: Carwin Press, inc.

Highett. (1998). School effectiveness and ineffective parents’ principle’s and superintendent’s perspectives. University of Alberta Edmonton: unpublished doctoral dissertation.

Kouzes & Posner. (1997). The Leadership Challenge. San Francisco: Jossey-Bass.

Leith wood, K., Jantzi, D., & Steinbach, R. (1999). Changing leadership for changing times. Philadelphia, PA: Open University Press.

Mc Cauley & Velser. (1988). Effective Leadership. 4 th ed Canade: Nelson Education, Ltd.

The Traener's Libray. (1998). Developing Instructional Leaders. Retrieved June 1, 2007 From http://www.vtaide.com/png/ERIC/Developing-Instuctionl-Leaders.html.

Weber, G. (1997). Inner-City Children Can Be Taught to Read: Four Successful School. Washington. D.C. Council for Basic Education.