เงื่อนไขที่นำไปสู่ความสำเร็จในการบริหารโครงการ โคกน้อยเขียวขจีด้วยปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ กรณีศึกษา บ้านโคกน้อย ต.โคกใหญ่ อ.โนนสัง จ.หนองบัวลำภู
Main Article Content
บทคัดย่อ
งานวิจัยเป็นการวิจัยเชิงคุณภาพ โดยได้ศึกษาเงื่อนไขที่นาไปสู่ความสาเร็จในการบริหารโครงการโคกน้อยเขียวขจีด้วยปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพ หมู่บ้านโคกน้อย ตาบล โคกใหญ่ อาเภอโนนสัง จังหวัดหนองบัวลาภู โดยการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย โรงไฟฟ้าพลังนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขื่อนอุบลรัตน์ ผู้วิจัยได้ทาการศึกษาคณะทางานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของโรงไฟฟ้าพลังนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขื่อนอุบลรัตน์ และคณะทางานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของชุมชนหมู่บ้านโคกน้อย โดยมีวัตถุประสงค์ในการศึกษา คือ เพื่อศึกษาเงื่อนไขที่สาคัญที่ทาให้โครงการโคกน้อยเขียวขจีด้วยปุ๋ยอินทรีย์ชีวภาพประสบความสาเร็จ มีการเก็บข้อมูลด้วยวิธีการสัมภาษณ์แบบมีโครงสร้างกับคณะทางานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของโรงไฟฟ้าพลังนาภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เขื่อนอุบลรัตน์ และคณะทางานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมของชุมชนหมู่บ้านโคกน้อย
ผลการศึกษาสรุปว่า การบริหารโครงการที่ดีและนาไปสู่ความสาเร็จนั น เริ่มจากการมีนโยบายคัดเลือกโครงการ โดยมีการวางแผน นาไปสู่การปฏิบัติ ติดตาม ควบคุม และการประเมินผลโครงการ ซึ่งมีตัวชี วัดความสาเร็จในการบริหารโครงการ อยู่ 4 ด้าน คือ ด้านเวลา ด้านการเงิน ด้านประสิทธิผล และด้านความพึงพอใจ งานวิจัยนี มีข้อเสนอแนะว่า ควรมีนโยบายการบริหารโครงการที่ชัดเจนและมีแนวทางการดาเนินงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมอย่างเป็นรูปธรรม เพื่อให้การทางานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมประสบความสาเร็จได้ตามเป้าหมายและมีประสิทธิภาพ
Article Details
References
2. การกำกับโครงการด้านความรับผิดชอบต่อสังคม. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. (2 เมษายน 2561). สืบค้นจาก www.egat.co.th
3. กิตติพงศ์ จิรวัสวงศ์. (5 เมษายน 2561). ISO 26000 มาตรฐานความรับผิดชอบต่อสังคม. Thai CSR Community. สืบค้นจาก https://www.csrcom.com/ articles/view/69
4. กำพล แสงทรัพย์สิน. (2559). ปัจจัยแห่งความสำเร็จของกลยุทธ์การสื่อสารด้านกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคมของบริษัท ซีพี ออลล์ จากัด (มหาชน). (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์. คณะกรรมการกลุ่มความร่วมมือทางวิชาการเพื่อพัฒนามาตรฐาน
5. การเรียนการสอนและการวิจัยด้านบริหารธุรกิจแห่งประเทศไทย. (2555). แนวทางความรับผิดชอบต่อสังคมของกิจการ. กรุงเทพฯ: เมจิกเพรส.
6. คณะกรรมการติดตามและประเมินผลโครงการ. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. (7 เมษายน 2561). สืบค้นจาก www.urdam.egat.co.th
7. คณะกรรมการบริหารด้านการทำแผนที่ศักยภาพชุมชน. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. (7 เมษายน 2561). สืบค้นจาก www.urdam.egat.co.th
8. ชัชวาล ใจเดี่ยว. (2548). การบริหารโครงการส่งเสริมการอ่านของสถานศึกษาในเขตพื้นที่การศึกษาอุบลราชธานี เขต 2. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏอุบลราชธานี, คณะครุศาสตร์.
9. นโยบายการกำกับดูแลกิจการที่ดี. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. (3 เมษายน 2561). สืบค้นจาก https://www.egat.co.th/index.php?option=com_ content&view=article&id=323&Itemid=197
10. นโยบายการพัฒนาอย่างยั่งยืน. การไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. (8 เมษายน 2561). สืบค้นจาก https://www.egat.co.th/index.php?option=com_ content&view=article&id=1821&Itemid=315
11. ปกรณ์ ปรียากร. (2545). การบริหารโครงการ : แนวคิดและแนวทางในการสร้างความสำเร็จ. กรุงเทพฯ: สานักพิมพ์เสมาธรรม.
12. ประชุม รอดประเสริฐ. (2547). การบริหารโครงการ. กรุงเทพฯ : เนติกุลการพิมพ์.
13. ประสิทธิ์ ทีฆพุฒิ, ไพโรจน์ ไววานิชกิจ และ คณุตม์ เคารพธรรม. (2549). การบริหารจัดการโครงการโทรคมนาคมและ ICT. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์ดอกหญ้า.
14. พิมพ์ชฎา ธนกุลดารง. (2553). ปัจจัยที่มีผลต่อความคิดเห็นของประชาชนที่มีต่อภาพลักษณ์ของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทยในด้านความรับผิดชอบต่อสังคมเรื่องสิ่งแวดล้อม. (การค้นคว้าอิสระปริญญามหาบัณฑิต). สถาบันบัณฑิตพัฒนบริหารศาสตร์.
15. รายงานโครงการส่งเสริมอุตสาหกรรมให้มีการพัฒนาด้านความรับผิดชอบต่อสังคม. กรมโรงงานอุตสาหกรรม กระทรวงอุตสาหกรรม. (6 เมษายน 2561). สืบค้นจาก www.diw.go.th.
16. มยุรี อนุมานราชธน. (2551). การบริหารโครงการ. กรุงเทพฯ : ดูมายเบส.
17. รัตนา สายคณิต. (2547). การบริหารโครงการ: แนวทางสู่ความสำเร็จ. กรุงเทพฯ : สำนักพิมพ์จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.
18. วรรณชา กาญจนมุสิก. (2554). การทำกิจกรรมความรับผิดชอบต่อสังคม (CSR) ที่มีผลต่อการตัดสินใจเลือกซื้อสินค้าและบริการของผู้บริโภคในเขตกรุงเทพมหานคร. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยกรุงเทพ.
19. วิสูตร จิระดาเกิง. (2547). การบริหารโครงการ แนวทางปฏิบัติที่เป็นจริง. กรุงเทพฯ : วรรณกวี.
20. สถาบันพัฒนาธุรกิจอย่างยั่งยืน. (2556). ความรับผิดชอบต่อสังคมเพื่อความยั่งยืนขององค์กร. กรุงเทพฯ : ตลาดหลักทรัพย์แห่งประเทศไทย.
21. อัครนันท์ ชัยธัมมะปกรณ์. (2556). การมีส่วนร่วมของบุคลากรในการดำเนินงานตามแนวความคิดความรับผิดชอบต่อสังคมของการไฟฟ้าฝ่ายผลิตแห่งประเทศไทย. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์.
22. อดิศร ไตรยงค์. (2553). กระบวนการบริหารโครงการโรงเรียนสร้างสรรค์สิ่งแวดล้อมดีเด่นเฉลิมพระเกียรติ : กรณีศึกษา โรงเรียนกุดบากพัฒนาศึกษา สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาสกลนคร เขต 2. (วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต). มหาวิทยาลัยราชภัฏสกลนคร.