โครงสร้างอำนาจและการเมืองของการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลและนายกเทศมนตรี ในจังหวัดชลบุรี 2564

Main Article Content

Olarn Thinbangtieo

บทคัดย่อ

การศึกษาครั้งนี้มีวัตถุประสงค์หลัก ดังนี้  1. เพื่อศึกษาภาพรวมการเมืองของการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลและนายกเทศมนตรีในจังหวัดชลบุรี 2. เพื่อศึกษาความสัมพันธ์ของโครงสร้างอำนาจท้องถิ่นกับการเมืองของการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลและนายกเทศมนตรีในจังหวัดชลบุรี เป็นการวิจัยเชิงคุณภาพในลักษณะสหวิทยาการ โดยประยุกต์การศึกษาทางรัฐศาสตร์และสังคมวิทยาการเมือง มีการเก็บรวบรวมข้อมูลจากลงพื้นที่ภาคสนามโดยการสังเกตและการสัมภาษณ์เชิงลึก สามารถสรุปผลจาการศึกษาตามวัตถุประสงค์ได้ ดังนี้ 1. ภาพรวมของการเมืองของการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลและนายกเทศมนตรี มีการตื่นตัวอย่างกว้างขวางทั้งในส่วนของประชาชนในท้องถิ่นและผู้สมัครรับเลือกตั้งทั้งสมาชิกสภาเทศบาลและนายกเทศมนตรี ผู้สมัครมีที่เป็นเครือข่ายอำนาจของกลุ่มการเมืองท้องถิ่น  กลุ่มคนรุ่นใหม่ และกลุ่มสตรีที่มีความสนใจทางการเมือง 2. การเลือกตั้งนี้ได้แสดงให้เห็นถึงความสัมพันธ์ของโครงสร้างอำนาจท้องถิ่นอยู่ภายใต้การเมือง 3 ขั้วอำนาจ มีการแข่งขันกันอย่างเข้มข้นโดยเฉพาะเทศบาลที่เป็นพื้นที่ยุทธศาสตร์การเมืองสำคัญที่แต่ละขั้วอำนาจต้องการยึดครองเป็นฐานการเมืองของกลุ่มตนเอง ภายใต้โครงสร้างอำนาจท้องถิ่นที่เปลี่ยนแปลงไปของจังหวัดชลบุรี จากเดิมที่มีลักษณะโครงสร้างอำนาจการเมืองขั้วอำนาจเดียว กลายเป็นแบบ 3 ขั้วอำนาจ หรือ การเมือง 3 เส้า ประกอบด้วย 1. กลุ่มบ้านใหญ่บางแสน 2. กลุ่มพลังใหม่ และ 3. กลุ่ม Change Chonburi ดังนี้แล้วเบื้องหลังการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลและนายกเทศมนตรี คือ การเมืองของการแย่งชิงอำนาจในสนามการเมืองของขั้วอำนาจที่ต้องการขยายฐานอำนาจ สถาปนาอำนาจทางการเมืองท้องถิ่น และการรักษาฐานอำนาจของกลุ่มตนเองเป็นหัวใจสำคัญ

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

จรัส สุวรรณมาลา. (2550). วัฒนธรรมการเมืองท้องถิ่นในประเทศไทย. วารสารสถาบันพระปกเกล้า, ปีที่ 5 (ฉบับที่ 3), 83-106.

ชัยยนต์ ประดิษฐศิลป์, และ ชัยณรงค์ เครือนวน. (2557). โครงสร้างอำนาจและการกระจุกตัวของความมั่งคั่งในท้องถิ่น: กรณีศึกษาจังหวัดแห่งหนึ่งในภาคตะวันออก (รายงานการวิจัย) ภายใต้ชุดโครงการวิจัย “สู่สังคมไทยเสมอหน้า การศึกษาโครงสร้างความมั่งคั่งและโครงสร้างอำนาจเพื่อการปฏิรูป. กรุงเทพฯ: สำนักงานคณะกรรมการส่งเสริมวิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม.

ธนณัฏฐ์ ศรีโอษฐ์. (2562). พลวัตของเครือข่ายอำนาจท้องถิ่นในจังหวัดชลบุรีในยุคของการกระจายอำนาจสู่ท้องถิ่น. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). ชลบุรี: มหาวิทยาลัยบูรพา.

ไทยรัฐออนไลน์. (2564, 2 กุมภาพันธ์). เปิดตัว ส.ท.เอ๋ ปะทะ ผู้ใหญ่ไข่ ชิงนายกเทศมนตรีดอนหัวฬ่อ ชลบุรี. ไทยรัฐออนไลน์. สืบค้นจาก https://www.thairath.co.th/news/local/east/2024868

กลุ่มประชาชนในเขตเทศบาล 1. (2564). สัมภาษณ์, 12 มีนาคม.

กลุ่มประชาชนในเขตเทศบาล 2. (2564). สัมภาษณ์, 18 มีนาคม.

ธนา ธรรมวาจา. (2564 ก., 8 กุมภาพันธ์). อ่างศิลาทะเลเดือด"ใหญ่ฟัดใหญ่"เลือกนายกอ่างศิลา "กำนันนัย"ค่ายบ้านใหญ่ เปิดศึก "กำนันจิ้ม"ซุ้มมังกรน้ำเค็ม. คมชัดลึกทั่วไทย. สืบค้นจาก https://www.komkhaotuathai.com/contents/19616

ธนา ธรรมวาจา. (2564 ข., 1 เมษายน). เลือกตั้งท้องถิ่นจังหวัดชลบุรี การเมืองชลบุรีแตกเป็น 3 ก๊ก บ้านใหญ่-พลังเฮ้ง-สิงโตทอง. คมชัดลึก. สืบค้นจาก https://www.komchadluek.net/news/local/462680

นักวิชาการท้องถิ่น 1. (2564). สัมภาษณ์, 13 มีนาคม.

นักวิชาการท้องถิ่น 2. (2564). สัมภาษณ์, 23 มีนาคม.

ผู้สมัครนายกเทศมนตรี 1. (2564). สัมภาษณ์, 9 มีนาคม.

ผู้สมัครนายกเทศมนตรี 2. (2564). สัมภาษณ์, 9 มีนาคม.

ผู้สมัครนายกเทศมนตรี 3. (2564). สัมภาษณ์, 19 มีนาคม.

ผู้สมัครนายกเทศมนตรี 4. (2564). สัมภาษณ์, 25 มีนาคม.

ผู้สมัครสมาชิกสภาเทศบาล 1. (2564). สัมภาษณ์. 13 มีนาคม.

ผู้สมัครสมาชิกสภาเทศบาล 2. (2564). สัมภาษณ์. 13 มีนาคม.

ผู้สมัครสมาชิกสภาเทศบาล 3. (2564). สัมภาษณ์. 16 มีนาคม.

ผู้สมัครสมาชิกสภาเทศบาล 4. (2564). สัมภาษณ์. 16 มีนาคม.

ผู้สมัครสมาชิกสภาเทศบาล 5. (2564). สัมภาษณ์. 16 มีนาคม.

ผู้สมัครสมาชิกสภาเทศบาล 6. (2564). สัมภาษณ์. 17 มีนาคม.

ผู้สมัครสมาชิกสภาเทศบาล 7. (2564). สัมภาษณ์. 18 มีนาคม.

สำนักงานคณะกรรมการเลือกตั้ง (กกต.) (2564). ผลการเลือกตั้งสมาชิกสภาเทศบาลและนายกเทศมนตรีในเขตพื้นที่จังหวัดชลบุรี. สืบค้นจาก https://www.ect.go.th/ect_th/download/article/article_20210517142110.pdf

นักข่าวท้องถิ่น 1. (2564). สัมภาษณ์. 12 มีนาคม.

นักข่าวท้องถิ่น 2. (2564). สัมภาษณ์ 20 มีนาคม.

นักข่าวท้องถิ่น 3. (2564). สัมภาษณ์. 20 มีนาคม.

นักข่าวท้องถิ่น 4. (2564). สัมภาษณ์. 25 มีนาคม.

นักข่าวท้องถิ่น 5. (2564). สัมภาษณ์. 25 มีนาคม.

นักข่าวท้องถิ่น 6. (2564). สัมภาษณ์. 28 มีนาคม.

หนังสือพิมพ์ข่าวชลออนไลน์. (2562, สิงหาคม). สจ.คุง ตีปีก “เฮ้ง-แป๊ะ”หนุน! แข่ง“นายกมาด”ชิงเก้าอี้“นายกนาป่า” ประกาศลั่น“สู้ไม่ถอย สตางค์เยอะ”. สืบค้นจาก https://www.facebook.com/Khaochon14/posts/492355591334591/

โอฬาร ถิ่นบางเตียว. (2554). พัฒนาการของโครงสร้างอำนาจท้องถิ่นในภาคตะวันออก: วิเคราะห์ในเชิงเศรษฐศาสตร์การเมือง. (วิทยานิพนธ์ปริญญาดุษฎีบัณฑิต). กรุงเทพฯ: มหาวิทยาลัยรามคำแหง.

Translated Thai References

Candidate for Municipal Council 1. (2021). Interview. March 13.

Candidate for Municipal Council 2. (2021). Interview. March 13.

Candidate for Municipal Council 3. (2021). Interview. March 16.

Candidate for Municipal Council 4. (2021). Interview. March 16.

Candidate for Municipal Council 5. (2021). Interview. March 16.

Candidate for Municipal Council 6. (2021). Interview. March 17.

Candidate for Municipal Council 7. (2021). Interview. March 18.

Election results of municipal councilors and mayors in Chonburi province. Sawanmala, S. (2007). Local Political Culture in Thailand. King Prajadhipok's Institute Journal, 5(3), 83-106.

Group of People in Municipality1. (2021). Interview, March 12.

Group of People in Municipality2. (2021). Interview, March 18.

Khaochononline. (2021, August). Heng-Pae Support Kung in Competing Mart for Napa Mayor. Khaochononline. Retrieved from https://www.facebook.com/Khaochon14/posts/492355591334591/

Local News Reporter 1. (2021). Interview, March 12.

Local News Reporter 2. (2021). Interview, March 20.

Local News Reporter 3. (2021). Interview, March 20.

Local News Reporter 4. (2021). Interview, March 25.

Local News Reporter 5. (2021). Interview, March 25.

Local News Reporter 6. (2021). Interview, March 28.

Local Scholar 1. (2021). Interview. March 13.

Local Scholar 2. (2021). Interview. March 23.

Mayoral Candidate 1. (2021). Interview. March 9.

Mayoral Candidate 2. (2021). Interview. March 9.

Mayoral Candidate 3. (2021). Interview. March 19.

Mayoral Candidate 4. (2021). Interview. March 25.

Office of the Election Commission of Thailand. (2021). The Results of Municipal Councilor and Mayor Elections in Chonburi Province. Retrieved from https://www.ect.go.th/ect_th/download/article/article_20210517142110.pdf

Praditsil, C.. & Krueanuan, C. (2014). Power Structure and Concentration of Wealth in a Local Area: A Case Study of a Province in the Eastern Region (Research Paper) under the umbrella of “Towards a More Equitable Thailand: A Study of Wealth, Power, and Reform. Bangkok: Thailand Science Research and Innovation.

Srioast, T. (2019). Dynamics of Local Power Network in Chonburi Province in Decentralization Period. (Doctoral Dissertation). Chonburi: Burapha University.

Thairath Online. (2021, February 2). Ae VS Khai Run for Mayor of Don Hua Lo, Chonburi. Thairath Online. Retrieved from https://www.thairath.co.th/news/local/east/2024868

Thamwaja, T. (2021a., February 8). Big Race in Mayoral Election, Nai VS Jim. Komchadluektuathai. Retrieved from https://www.komkhaotuathai.com/contents/19616

Thamwaja, T. (2021b., April 1). Chonburi Local Election and The Three Kingdoms: Banyai, Heng and Singtothong. Komchadluek. Retrieved from https://www.komchadluek.net/news/local/462680

Thinbangtieo,O. (2011). The Development of Local Power Structures in the Eastern Region: A Politico-Economic Analysis. (Doctoral Dissertation). Bangkok: Ramkhamheang University.