ได้อย่างก็ต้องเสียอย่าง?: ภาระจากการเข้าถึงบริการในการลงทะเบียนโครงการเราชนะสำหรับประชาชนที่ไม่มีสมาร์ทโฟน
Main Article Content
บทคัดย่อ
การรับบริการจากรัฐมักก่อให้เกิดภาระหรือต้นทุนไม่ทางตรงก็ทางอ้อมแก่ผู้รับบริการ ในภาวะการระบาดของโรคติดเชื้อเชื้อไวรัสโคโรนา-19 ประชาชนผู้ด้อยโอกาสไม่มีที่พึ่งใดต้องยินยอมแบกรับภาระดังกล่าว เพื่อให้ตนเองเข้าถึงและได้รับบริการได้ บทความนี้จึงตั้งคำถามวิจัยว่าภาระการเข้าถึงบริการแต่ละประเภทในการลงทะเบียนโครงการเราชนะของผู้ที่ไม่มีสมาร์ทโฟนมีลักษณะอย่างไร และหน่วยงานของรัฐสามารถจัดการลดภาระการเข้าถึงบริการนี้ได้ด้วยวิธีการใด โดยมีวัตถุประสงค์เพื่ออธิบายและชี้ให้เห็นถึงความสำคัญของภาระจากการเข้าถึงบริการผ่านการศึกษาและวิเคราะห์การลงทะเบียนโครงการเราชนะสำหรับประชาชนที่ไม่มีสมาร์ทโฟน ด้วยวิธีวิจัยเชิงคุณภาพจากบทความข่าวหนังสือพิมพ์ และเทคนิคการวิเคราะห์เนื้อหาโดยเปรียบเทียบอย่างต่อเนื่อง การวิจัยนี้พบว่าภาระจากการเข้าถึงบริการสำหรับโครงการนี้ครอบคลุมทั้งต้นทุนการเรียนรู้ ต้นทุนการปฏิบัติตามนโยบาย และต้นทุนทางจิตวิทยา ซึ่งล้วนแล้วแต่ส่งผลต่อทั้งการตัดสินใจเข้าร่วมโครงการ การได้รับหรือการถูกปฏิเสธบริการ และคุณภาพของบริการ อนึ่ง แม้ว่ามีการปรับปรุงขั้นตอนการรับลงทะเบียนแล้ว หน่วยงานที่เกี่ยวข้องอาจใช้แนวทางการลดภาระจากการเข้าถึงบริการจากประสบการณ์ในต่างประเทศ เพื่อให้ประชากรผู้ด้อยโอกาสแบกรับภาระนี้น้อยที่สุด และสามารถเข้าถึงความช่วยเหลือจากรัฐได้เฉกเช่นเดียวกับประชาชนกลุ่มอื่นๆ อย่างเสมอภาคและเป็นธรรม
Article Details
References
เอกสารอ้างอิงภาษาไทย
2 ล.คนรับงวดแรก 2 พันบ. (2564, 18 กุมภาพันธ์). มติชน, หน้า 1 และ 7.
ล้านคนเฮ! รับสิทธิ์โครงการเราชนะเพิ่ม 3,500 จุดรับลงทะเบียน. (2564, 20 กุมภาพันธ์). แนวหน้า, 1 และ 9.
,500 จุดลงทะเบียนเราชนะ. (2564, 21 กุมภาพันธ์). ข่าวสด, หน้า 5.
‘เราชนะ’วัน2แออัดแห่ลงทะเบียน. (2564, 18 กุมภาพันธ์). ไทยรัฐ, 1, 11 และ 12.
‘เราชนะ’สะพัดหมื่นล้าน ไร้สมาร์ทโฟนสมัคร 3 แสน. (2564, 18 กุมภาพันธ์). ไทยโพสต์, 1 และ 8.
‘เราชนะ’โอนแล้ว งวดแรก 2 พันบาท 10.2 ล้านคนแห่งเช็คสิทธิ์ “แอปฯ เป๋าตังค์” ล่ม. (2564, 19 กุมภาพันธ์). แนวหน้า, 1 และ 11.
กระทรวงการคลัง. (2564). ข่าวกระทรวงการคลัง ฉบับที่ 009/2564 เรื่องโครงการเราชนะ. สืบค้นวันที่ 30 พฤจิกายน 2564 จาก https://www.fpo.go.th/main/News/Press-conference/13953.aspx
ขวัญชีวัน บัวแดง. (2551). สุขภาพของแรงงานข้ามชาติกับการเข้าถึงบริการสาธารณสุขของรัฐ. วารสารสังคมศาสตร์, 20(1), 146–172.
ขยายเวลาเราชนะ ยาวถึง 5 มี.ค. (2564, 18 กุมภาพันธ์). เดลินิวส์, 1 และ 11.
คนแก่เซ็งเราชนะ คิวยาว ตากแดด-จนเป็นลม. (2564, 16 กุมภาพันธ์). ข่าวสด, หน้า 1 และ 11.
คลังยืดลงทะเบียน’เราชนะ’ ครม.เคาะเยียวยา. (2564, 16 กุมภาพันธ์). กรุงเทพธุรกิจ, 1 และ 4.
คลังสั่งรื้อบัตรคนจน. (2564, 21 กุมภาพันธ์). มติชน (ตจว), หน้า 1 และ 15.
เคาะ ม.33 เริ่ม 21 กพ.-7มีค. รับสิทธิ์เราชนะลุ้นกรุงไทย. (2564, 16 กุมภาพันธ์). ไทยโพสต์, 1 และ 12.
แงะช่องโหว่’เราชนะ’กลุ่มเปราะบาง. (2564, 16 กุมภาพันธ์). ผู้จัดการรายวัน 360 องศา, 1, 13 และ 14.
จับประเด็น: ลงทะเบียน’เราชนะ’แล้ว 2 แสนคน. (2564, 17 กุมภาพันธ์). ไทยโพสต์, 7.
แจกเราชนะเพิ่ม 2 หมื่น ล. (2564, 19 กุมภาพันธ์). เดลินิวส์, 1 และ 2.
ช่วยคนพื้นที่เข้าถึง ‘เราชนะ.’ (2564, 22 กุมภาพันธ์). ไทยรัฐ, 7.
‘ซาไกเบตง’เฮ! ได้สัญชาติไทยรับสิทธิ์เราชนะ. (2564, 21 กุมภาพันธ์). ไทยโพสต์, 1 และ 11.
ดันกลุ่มไร้สมาร์ทโฟนร่วมรื้อบัตรคนจน. (2564, 20 กุมภาพันธ์). มติชน, หน้า 1 และ 15.
ดึง2แบงค์ลงทะเบียน’เราชนะ’. (2564, 19 กุมภาพันธ์). ผู้จัดการรายวัน 360 องศา, 1 และ 4.
เปิด871จุด‘กรุงไทย’ลงทะเบียนเราชนะ. (2564, 15 กุมภาพันธ์). แนวหน้า, 1 และ 10.
เปิดจุดช่วย’เราชนะ’. (2564, 18 กุมภาพันธ์). แนวหน้า, 9.
มณฑลี กปิลกาญจน์, พรชนก เทพขาม, นันทนิตย์ ทองศรี, & พัชยา เลาสุทแสน. (2563). ผลกระทบโควิด 19 ต่อตลาดแรงงานไทย. สืบค้นวันที่ 30 พฤศจิกายน 2564 จาก https://www.bot.or.th/Thai/ResearchAndPublications/articles/Pages/Article_12Oct2020.aspx.
ยืดลงทะเบียนเราชนะรุ่นไร้สมาร์ทโฟนถึง 5 มี.ค. (2564, 19 กุมภาพันธ์). มิติชนสุดสัปดาห์, หน้า 23.
รัชนุช ปัญญา. (2558). การศึกษาค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลและโรคของแรงงานต่างด้าวในโรงพยาบาลเกาะพะงัน จังหวัดสุราษฎร์ธานี. วารสารบัณฑิตวิจัย, 6(1), 109–118.
เริ่มแล้วซอฟท์โลนอุ้มท่องเที่ยว. (2564, 19 กุมภาพันธ์). มติชน (ตจว), หน้า 1 และ 5.
ไร้มือถือยังแห่ขอรับ 7 พัน ทะลุ 2.1 แสน. (2564, 18 กุมภาพันธ์). มติชน (ตจว), หน้า 1, 8 และ 10.
ไร้มือถือล้น-โอดจนท.ดุ ลงทะเบียนรับ 7 พันป่วน. (2564, 16 กุมภาพันธ์). มติชน, หน้า 1 และ 8.
เราชนะยอดพุ่ง! 12 ล้านคนยืนยันตัว ใช้จ่าย 2.5 หมื่น ล. (2564, 20 กุมภาพันธ์). ไทยโพสต์, 1 และ 12.
เราชนะวุ่น-เป๋าตังล่ม 10.2 ล.คนแห่กดแอพพ์. (2564, 20 กุมภาพันธ์). ข่าวสด, หน้า 1 และ 15.
เราชนะเอาใจผู้ป่วย-พิการ-คนชรา ไม่ต้องเดินทาง/รับลงทะเบียนถึงบ้าน. (2564, 17 กุมภาพันธ์). สยามรัฐ, 1 และ 8.
เราชนะโอนงวดแรก 2 หมื่น ล. (2564, 18 กุมภาพันธ์). เดลินิวส์, 1 และ 11.
ลม เปลี่ยนทิศ. (2564, 18 กุมภาพันธ์). หมายเหตุประเทศไทย: “เราชนะ” ประชาชนแพ้อีกความล้มเหลาวของรัฐบาล. ไทยรัฐ, หน้า 5.
วันนี้ไร้มือถือลงทะเบียน. (2564, 15 กุมภาพันธ์). มติชน, หน้า 1 และ 8.
วุ่นวายทุก จว. สมัคร’ชนะ’. (2564, 17 กุมภาพันธ์). ไทยรัฐ, 1 และ 9.
วัฒนะ ศรีวัฒนา. (2560). การเข้าถึงบริการทันตกรรมของผู้ประกันตนในประเทศไทย ปี พ.ศ.2558. วารสารวิชาการสาธารณสุข, 26(2), 400–408.
โวยรัฐโอนเงินสะดุด เป๋าตัง-เราชนะ จวกเน็ตหน่วงหมุนติ้ว. (2564, 19 กุมภาพันธ์). เดลินิวส์, 1 และ 11.
ศัลยา ประชาชาติ. (2564, 19 กุมภาพันธ์). เราชนะป่วน ยิ่งแก้ยิ่งยุ่ง กรุงไทยรับเละคนลุ้นทุกสาขา เรื่องง่ายกลายเป็นเรื่องยาก. มติชนสุดสัปดาห์, หน้า 12.
สั่งเพิ่มจุดลงทะเบียนเราชนะ. (2564, 20 กุมภาพันธ์). เดลินิวส์, 1 และ 2.
สำนักนายกรัฐมนตรี. (2564). นายกรัฐมนตรีย้ำมาตรากรช่วยเหลือเยียวยาประชาชนจากสถานการณ์โควิด-19 มุ่งช่วยเหลือเยียวยาทุกด้านอย่างครอบคลุม เผยวัคซีนโควิด-19 ได้ล็อตแรก 5 หมื่นโดส. สืบค้นวันที่ 30 พฤจิกายน 2564 จาก https://www.thaigov.go.th/news/contents/details/38912
แห่กดแอพพ์เป๋าตังล่ม เราชนะงวดแรก 2 พันบ. (2564, 19 กุมภาพันธ์). มติชน, หน้า 1 และ 15.
แห่ลงทะเบียนเราชนะต่อคิวยาวเหยียดกรุงไทยทุกสาขา. (2564, 16 กุมภาพันธ์). แนวหน้า, 1 และ 11.
แห่ลงทะเบียนเราชนะวันที่สอง. (2564, 18 กุมภาพันธ์). ข่าวสด (ตจว), หน้า 11.
แห่สมัคร’เราชนะ’. (2564, 16 กุมภาพันธ์). ไทยรัฐ, 1 และ 15.
ออมสิน-ธกส.ดีเดย์ 22 กพ.นี้. (2564, 19 กุมภาพันธ์). ข่าวหุ้น, 13.
โอนเงินเราชนะวันแรกล่ม แห่แก้หนี้รูดปรี๊ด1แสนคน. (2564, 19 กุมภาพันธ์). ไทยโพสต์, 1 และ 3.
เอกสารอ้างอิงภาษาอังกฤษ
Agranoff, R., & McGuire, M. (2001). Big questions in public network management research. Journal of Public Administration Research and Theory, 11(3), 295–326. https://doi.org/10.1093/oxfordjournals.jpart.a003504
Anjany, R. (2020, June 18). Gov’t disburse cash transfer assistance to 90% of Indonesia’s villages. Cabinet Secretary for State Documents & Translation, 2–4.
Besley, T., & Stern, N. (2020). The economics of lockdown. Fiscal Studies, 41(3), 493–513. https://doi.org/10.1111/1475-5890.12246
Boyne, G. A. (2002). Concepts and indicators of local authority performance: An evaluation of the statutory frameworks in England and wales. Public Money and Management, 22(2), 17–24. https://doi.org/10.1111/1467-9302.00303
Brewer, G. A., & Walker, R. M. (2009). The impact of red tape on governmental performance: An empirical analysis. Journal of Public Administration Research and Theory, 20(1), 233–257. https://doi.org/10.1093/jopart/mun040
Burden, B. C., Canon, D. T., Mayer, K. R., & Moynihan, D. P. (2012). The effect of administrative burden on bureaucratic perception of policies: Evidence from election administration. Public Administration Review, 72(5), 741–751. https://doi.org/10.111/j.1540-6210.2012.02600.x.The
Chen, C., & Huang, J. (2009). Strategic human resource practices and innovation performance — The mediating role of knowledge management capacity. Journal of Business Research, 62(1), 104–114.
Frederickson, H. G., Smith, K. B., Larimer, C. W., & Licari, M. J. (2012). The Public Administration theory primer (2nd ed.). Boulder, CO: Westview Press.
George, A. L., & Bennett, A. (2005). Case studies and theory development in social sciences. MIT Press.
Gerring, J. (2012). Social Science Methodology: A Unified Framework. Cambridge, England: Cambridge University Press.
Heikkila, T., & Gerlak, A. K. (2013). Building a conceptual approach to collective learning: Lessons for public policy scholars. Policy Studies Journal, 41(3), 484–512. https://doi.org/10.1111/psj.12026
Herd, P., Deleire, T., Harvey, H., & Moynihan, D. P. (2013). Shifting administrative burden to the state: The case of medicaid take-up. Public Administration Review, 73(S1), 69–81. https://doi.org/10.1111/puar.12114
Herd, P., & Moynihan, D. P. (2019). Administrative burden: Policymaking by other means. New York, NY: Russell Sage Foundation.
Ibadurrohman, R. (2020, September 24). Gov’t disburse village funds for COVID-19 handling, cash for work, cash transfer. Cabinet Secretary for State Documents & Translation, p. 2–3.
Ingram, H., & Schneider, A. (1991). The choice of target populations. Administration & Society, 23(3), 333–356.
Internal Revenue Serivce. (2021a, March 22). More Economic Impact Payments set for disbursement in coming days; taxpayers should watch mail for paper checks, debit cards. News Release, 1, 2–4.
Internal Revenue Serivce. (2021b, March 24). IRS, Treasury disbursed 90 million Economic Impact Payments from the American Rescue Plan. News Release, 1–2.
Keiser, L. R., & Miller, S. M. (2020). Does administrative burden influence public support for government programs?: Evidence from a survey experiment. Public Administration Review, 80(1), 137–150. https://doi.org/10.1111/puar.13133
Lasswell, H. D. (1936). Politics: How gets what, when, how. New York, NY: McGraw-Hill.
Leavy, P. (2017). Research design: Quantitative, qualitative, and community-based participatory reserach approaches. New York, NY: The Guilford Press.
Leech, N. L., & Onwuegbuzie, A. J. (2007). An array of qualitative data analysis tools: A call for data analysis triangulation. School Psychology Quarterly, 22(4), 557–584. https://doi.org/10.1037/1045-3830.22.4.557
Leech, N. L., & Onwuegbuzie, A. J. (2008). Qualitative data analysis: A compendium of techniques and a framework for selection for school psychology research and beyond. School Psychology Quarterly, 23(4), 587–604. https://doi.org/10.1037/1045-3830.23.4.587
Linos, E., & Riesch, N. (2020). Thick red tape and the thin blue line: A field study on reducing administrative burden in police recruitment. Public Administration Review, 80(1), 92–103. https://doi.org/10.1111/puar.13115
Madsen, J. K., Mikkelsen, K. S., & Moynihan, D. P. (2020). ฺBurdens, sludge, ordeals, red tape, Oh my!: A user’s guide to the study of friction. Public Administration, 25(2), 1–19. https://doi.org/10.1111/padm.12717
Mazmanian, D. A., & Sabatier, P. A. (1989). Implementation and public policy. Lanham, MD: University Press of America.
Mettler, S., & Sorelle, M. (2014). Policy feedback theory. In P. A. Sabatier & C. Weible (Eds.), Theories of the Policy Process (pp. 151–182). Boulder, CO: Westview Press.
Miles, M. B., & Huberman, M. A. (1994). Qualitative Data Analysis (2nd ed.). Thousand Oaks, CA: Sage Publications Ltd.
Miles, M. B., Huberman, M. a, & Saldana, J. (2014). Qualitative data analysis: A methods sourcebook. Thousand Oaks, CA: Sage Publications Ltd.
Moynihan, D., Herd, P., & Harvey, H. (2014). Administrative burden: Learning, psychological, and compliance costs in citizen-state interactions. Journal of Public Administration Research & Theory, 25(1), 43–69. https://doi.org/10.1093/jopart/muu009
Nabatchi, T., Sancino, A., & Sicilia, M. (2017). Varieties of Participation in Public Services: The Who, When, and What of Coproduction. Public Administration Review, 77(5), 766–776. https://doi.org/10.1111/puar.12765
O’Toole, L. J., & Meier, K. J. (2015). Public management, context, and performance: In quest of a more general theory. Journal of Public Administration Research and Theory, 25(1), 237–256.
Onwuegbuzie, A. J. (2003). Expanding the framework of internal and external validity in quantitative research. Research in the Schools, 10(I), 71–89. http://psycnet.apa.org/psycinfo/2004-11894-008
Onwuegbuzie, A. J., & Johnson, R. B. (2006). The Validity Issue in Mixed Research. Research in the Schools, 13(1), 48–63. https://doi.org/10.1016/j.jsis.2005.08.002
Sabatier, P. A. (1986). Top-Down and bottom-Up approaches to implementation research: A critical analysis and suggested synthesis. Journal of Public Policy, 6(1), 21–48. https://doi.org/10.1017/S0143814X00003846
Sabatier, P. A. (1991). Toward better theories of the policy process. Political Science and Politics, 24(2), 147–156.
Singleton, R. A. J., & Straits, B. C. (2010). Approaches to Social Research (3rd ed.). Thousand Oaks, CA: Sage Publications Ltd.
Strauss, A., & Corbin, J. M. (1998). Basics of qualitvative research: Grounded theory procedures and techniques. Thousand Oaks, CA: Sage Publications Ltd.
Theis, S., Yunaningsih, R., & Panggabean, E. (2020, October 7). Indonesia’s largest cash transfer program pivoted quickly in response to COVID-19. Can beneficiaries keep up? Women’s World Banking, p. 1.
Tran-Nam, B., Evans, C., Walpole, M., & Ritchie, K. (2000). Tax compliance costs: Research methodology and empirical evidence from Australia. National Tax Journal, 53(2), 229–252. https://doi.org/10.17310/ntj.2000.2.04
Van de Ven, A. (2007). Engaged Scholarship: A Guide for Organizational and Social Research. Oxford, England: Oxford University Press.
Winter, S. (2012). Implementation. In G. Peters & J. Pierre (Eds.), The Sage Handbook of Public Administration (pp. 255–264). Thousand Oaks, CA: Sage Publications Ltd.
Zahariadis, N. (2014). Ambiguity and multiple streams. In P. A. Sabatier & C. Weible (Eds.), Theories of the Policy Process (pp. 25–58). Boulder, CO: Westview Press.