ความคิดทางการเมืองของสยุมภู ทศพล ที่ปรากฏผ่านสารนิยาย พ.ศ. 2516 - พ.ศ. 2519

Main Article Content

สืบสายสยาม ชูศิริ

บทคัดย่อ

งานวิจัยเรื่อง “ความคิดทางการเมืองของสยุมภู ทศพล ที่ปรากฎผ่านสารนิยาย พ.ศ. 2516 – พ.ศ. 2519” เป็นการศึกษาผลงานการประพันธ์ประเภท “สารนิยาย” ของประจิม วงศ์สุวรรณ หรือเจ้าของนามปากกาว่า “สยุมภู ทศพล” ผู้ซึ่งเป็นชาวไทยที่เคยเข้าร่วมรบในสมรภูมิสงครามลับในลาวและมีชีวิตรอดกลับมา เมื่อกลับมาประเทศไทยภายหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2516 สยุมภูได้เปลี่ยนอาชีพเป็นนักเขียนนิยาย ซึ่งนิยายส่วนใหญ่ของสยุมภูเป็นการหยิบประสบการณ์จริงสมัยไปรบในสงครามมาเล่า และเนื้อหาในงานเขียนของสยุมภูเต็มไปด้วยอุดมการณ์ความรักชาติและต่อต้านคอมมิวนิสต์ อย่างไรก็ตาม แม้ว่าสยุมภูจะมีจุดยืนทางการเมืองที่เป็นอนุรักษนิยมหรือเป็นขวาค่อนข้างชัด แต่สยุมภูกลับวิพากษ์วิจารณ์ฝ่ายขวาด้วยกันเอง ซึ่งแตกต่างจากฝ่ายขวาโดยทั่วไป ดังนั้น บทความชิ้นนี้จึงเป็นการสำรวจทำไมสยุมภูจึงเลือกจะวิพากษ์วิจารณ์ฝ่ายขวาด้วยกันเอง และมุมมองทางการเมืองของสยุมภูเป็นเช่นไร

This research “Political Thought of Sayumphu Thotsaphon Through Documentary Novels, 1973 – 1976” is a study of Prajim Wongsuwan's or under his pen name “Sayumphu Thosaphon” literary works in the genre of “Documentary Novel”. He was a Thai who had previously participated in the Secret War in Laos and survived on this battlefield after the events of October 14, 1973. His writing is based on his experience in war, and the content of Sayumphu's writings was full of patriotic and anti-communist ideologies. However, Sayumphu has a conservative or right-wing political stance. But Sayumphu criticized the right-wing, which was his side. This was different from the right-wing in general. It is assumed that the political ideas of Sayamphu were conservative that opposed the expansion of communism Honored in the institution of the nation, religion, and monarchy. However, there is a critical attitude towards the role of the United States that considers its own interests more than the interests of Thailand.

Article Details

บท
บทความวิจัย

References

กุลลดา เกษบุญชู มี้ด. (2560). การเมืองไทยในยุคสฤษดิ์ - ถนอม ภายใต้โครงสร้างอำนาจโลก. คณะรัฐศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

กัญ ศิริกุล. (2536). การพัฒนานโยบายเกี่ยวกับญวนอพยพในประเทศไทย พ.ศ.2488 - 2535. [วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, สถาบันเทคโนโลยีสังคม (เกริก)].

กองบรรณาธิการ. (2520). สัมภาษณ์ สยุมภู ทศพล ผู้เขียน “ดับรามสูร” ลูกอัณฑะผมขาดข้างหนึ่ง. โลกหนังสือ, 1(2), 49 - 56.

คริส เบเคอร์ และผาสุก พงษ์ไพจิตร. (2561). ประวัติศาสตร์ไทยร่วมสมัย (พิมพ์ครั้งที่ 7). มติชน.

เจน อักษราพิจารณ์. (2560). สยุมภู ทศพล: หยาดน้ำหมึกกลางสมรภูมิ. ทางอีศาน, 5(58), 110 - 113.

จันทนา ไชยนาเคนทร์. (2554). การเมืองไทยในสมัยนายกรัฐมนตรีพระราชทาน สัญญา ธรรมศักดิ์ (พ.ศ.2516 – 2518). [วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์]. TU digital collections. https://digital.library.tu.ac.th/tu_dc/frontend/Info/item/dc:120441

ชาญวิทย์ เกษตรศิริ. (2544). บันทึกประวัติศาสตร์ 14 ตุลา 2516 (พิมพ์ครั้งที่ 2). สายธาร.

ชาลี คเชนทร์. (2550). วีรกรรมนิรนาม…ทหารเสือพราน. ข้าแผ่นดินสยาม.

ตรีศิลป์ บุญขจร. (2547). นวนิยายกับสังคมไทย 2475 – 2500 (พิมพ์ครั้งที่ 3). โครงการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย.

ทักษ์ เฉลิมเตียรณ. (2561). การเมืองระบบพ่อขุนอุปถัมภ์แบบเผด็จการ (พิมพ์ครั้งที่ 5). มูลนิธิโครงการตำราสังคมศาสตร์และมนุษย์ศาสตร์.

ทวีศักดิ์ ปิ่นทอง. (2546). นวนิยายกับการเมืองไทย ก่อนและหลังเหตุการณ์ 14 ตุลาคม 2516 (พ.ศ. 2507 - 2522). สำนักพิมพ์รักษ์อักษร.

เทพมนตรี ลิมปพยอม. (2546). ลอกคราบ 14 ตุลา: ดักแด้ประวัติศาสตร์การเมืองไทย ฉบับชำระประวัติศาสตร์ใหม่. รักษ์สยาม

ประทีป เหมือนนิล. (2553). 100 นักประพันธ์ไทย (พิมพ์ครั้งที่ 2). สุวีริยาสาส์น.

ประวัติโรงเรียนนายสิบทหารบก. (ม.ป.ป.). http://www.engrdept.com/nco/tahanchangling/pavatnco_school.htm

ป่าไม้กับนิสิตนักศึกษาบุกเข้าจับ พ.ท. ลูกชาย ‘พจน์ สารสิน’ รีบหนี ขนเนื้อ, ปืนขึ้น ฮ. 2 ลำยังหนักเกิน!. (2516, 1 พฤษภาคม). เดลินิวส์, 1,16.

เพทาย. (2543). เรื่องสั้น ชุดฉากชีวิต เรื่องของเพื่อน. โล่เงิน, 15(177), 54 - 55.

เพ็ญวิษา วัฒนปรีชานนท์. (2550). กลวิธีการประพันธ์ในนวนิยายแนวสืบสวนสอบสวนของกิ่งฉัตร. [วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chulalongkorn University Intellectual Repository (CUIR). https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/52630

พวงทอง ภวัครพันธุ์. (2556). สงครามเวียดนาม: สงครามกับความจริงของ “รัฐไทย” (พิมพ์ครั้งที่ 2). โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.

เมื่อ “หนักแผ่นดิน” เพลงสู้คอมมิวนิสต์ดังในทีวี-วิทยุ ช่วงบ่ายหลังปราบ 6 ตุลา. (2565, 7 ตุลาคม). ศิลปวัฒนธรรม. https://www.silpa-mag.com/history/article_27912

วอร์นเนอร์ โรเจอร์. (2545). Back Fire: the CIA’s Secret War in Laos and its link to the war in Vietnam [ผลาญชาติ: สงครามลับของซีไอเอในลาว และความเชื่อมโยงกับสงครามในเวียดนาม]. โครงการจัดพิมพ์คบไฟ.

โรงเรียนเตรียมทหาร กรมยุทธศึกษาทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด. (2542). 42 ปี โรงเรียนเตรียมทหาร. โรงเรียนเตรียมทหาร กรมยุทธศึกษาทหาร กองบัญชาการทหารสูงสุด.

เรืองยศ จันทรคีรี. (2535). ด้วยความรู้สึกและทรงจำในวันวานของเทพ 333. ชีวิตและประสบการณ์.

วิลาสินี จินตลิขิตดี. (2546). บทบาททางการเมืองของ ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช. [วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์]. ศูนย์ข้อมูลการวิจัย Digital “วช.” Digital Research Information Center. https://dric.nrct.go.th/index.php?/Search/SearchDetail/128427

ศิบดี นพประเสริฐ. (2564). ขวาพิฆาต (?) ซ้าย อนุรักษ์นิยมไทยบนทางสองแพร่งของการเมืองโลกยุคสงครามเย็น. มติชน.

ศนิโรจน์ ธรรมยศ. “สยุมภู ทศพล” ผู้เขียน “ดับรามสูญ” คือใคร บิ๊กแมนมีจริงหรือไม่? โดยคุณวีระ สตาร์ FAG ตัวจริงในลาว. (2564, 27 กันยายน). Youtube. https://www.youtube.com/watch?v=ZR3vG0xoPew&t

สมาน ทองศรี. (2522). ปัญหาด้านเสถียรภาพของรัฐบาลผสมในประเทศ: ศึกษาเฉพาะกรณีรัฐบาลผสม ม.ร.ว.คึกฤทธิ์ ปราโมช. [วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย]. Chulalongkorn University Intellectual Repository (CUIR). https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/42003

สมิหรา จิตตลดากร. (2534). การประเมินผลกระทบของนโยบายญวนอพยพ. คณะรัฐศาสตร์ มหาวิทยาลัยรามคำแหง

สืบสายสยาม ชูศิริ. (2565). นักรบที่ถูกลืม: การศึกษาทหารรับจ้างไทยในสงครามลับในลาวผ่านสารนิยายของสยุมภู ทศพล พ.ศ.2516 – 2519. [วิทยานิพนธ์มหาบัณฑิต, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย].

สยุมภู ทศพล. (2518ก). ทหารขายชาติ. บรรณกิจ.

__________. (2518ข). วันชโลมเลือด. ผ่านฟ้าพิทยา.

__________. (2518ค). ซีไอเอ. องค์กรมหาประลัย. สุนทรกิจการพิมพ์.

__________. (2519ก). วีรบุรุษเสือพราน. บรรณกิจ.

__________. (2519ข). สงครามฝิ่นที่ภูหินตั้งเล่มที่ 2. บรรณกิจ.

__________. (2519ค). ไม่มีคำตอบจากทุ่งไหหิน เล่ม ๑ นักรบรับจ้าง. บรรณกิจ.

__________. (2519ง). สงครามฝิ่นที่ภูหินตั้งเล่มที่ 1. บรรณกิจ.

__________. (2519จ). ด่านนรก. บรรณกิจ.

__________. (2519ฉ). ไม่มีคำตอบจากทุ่งไหหิน เล่ม ๒ หลั่งเลือดทาแผ่นดิน. บรรณกิจ.

“สยุมภู ทศพล” ตายหัวใจวายกระทันหัน. (2533, 21 มกราคม). ไทยรัฐ, 1, 21.

สุธาชัย ยิ้มประเสริฐ. (2551). สายธารประวัติศาสตร์การเมืองไทย. พี.เพรส

สุรพงษ์ ชัยนาม. (2560). นโยบายของไทยต่อเวียดนาม. สยามปริทัศน์.

แอบซุ่มดูพฤติการณ์ทั้งวันทั้งคืน ใช้เฮลิคอปเตอร์ลำเลียงไปทั้งคณะจอมพลถนอมยืนยัน “ไปราชการลับ”. (2516, 2 พฤษภาคม). เดลินิวส์, 1, 16.

Carter, T. P. (2016). Thai Forward Air Guide in Laos During the Second Indochina War. [Masters Dissertation, Chulalongkorn University]. Chulalongkorn University Intellectual Repository (CUIR). https://cuir.car.chula.ac.th/handle/123456789/55684

Osornprasop, S. (2007). Amidst the Heat of the Cold War in Asia: Thailand and the American Secret War in Indochina (1960 - 74). Cold War History, 7(3), 349 - 371