หลักพุทธธรรมเพื่อการส่งเสริมการมีส่วนร่วมเพื่อชุมชนยั่งยืน

Main Article Content

ธวัช หอมทวนลม
ธานี สุวรรณประทีป

บทคัดย่อ

คนคือหัวใจหลักของการพัฒนาในทุก ๆ เรื่องอาทิเช่น เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง สิ่งต่าง ๆ เหล่านี้จะต้องขับเคลื่อนไปด้วยทรัพยากรที่เป็นมนุษย์ทั้งสิ้น ในด้านเศรษฐกิจเพื่อชุมชนของตนมีความเป็นอยู่ทีดีมีรายได้สม่ำเสมอ ในด้านสังคม คนต้องนำพาชุมชนที่ตนพำนักอยู่ให้ได้รับการศึกษาที่ดีเมื่อสมาชิกในชุมชนของตนได้รับการศึกษาที่ดีแล้วก็จะแก้ปัญหาทางด้านยาเสพติดและอาชญากรรมไปได้โดยปริยาย ในด้านการเมือง คนในชุมชนนั้น ๆ จะต้องมีผู้นำเพื่อที่จะนำพาองค์กรของตนไปสู่เป้าหมายที่ยั่งยืนนั้นก็ต้องมีหลักธรรมที่จะใช้กับชุมชนได้ดีนั้นก็คือหลักอปริหานิยธรรม 7 ประการ โดยแบ่งเนื้อหาแยกเป็น 3 ด้าน คือ เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง ซึ่งเมื่อประชากรในชุมชนได้ปฏิบัติแล้วอย่างจริงจังก็จะไม่เกิดความเสื่อมและจะพาให้เกิดความเจริญในทุกระดับจนถึงระดับชาติ

Article Details

บท
บทความวิชาการ

References

มหามกุฏราชวิทยาลัย. มูลนิธิ. พระไตรปิฎกและอรรถกถาแปล เล่มที่ 13. กรุงเทพมหานคร : มหาม
กุฏราชวิทยาลัย, 2546.
กองทุนเพื่อสังคม. สํานักงาน. แผนชุมชนพึ่งตนเอง. เอกสารประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการ
เสริมสร้างความเข็มแข็งของชุมชน ณ ตึกสันติไมตรี ทําเนียบรัฐบาล (27 กรกฏาคม 2543).
กาญจนา แก้วเทพ. เครื่องมือทํางานแนววัฒนธรรมชุมชน. กรุงเทพมหานคร: สภาคาทอลิ
คแห่งประเทศไทยเพื่อการพัฒนา (สคทพ.), 2538.
ข่าวชุมชน. ปฏิรูปประเทศไทย ให้ชุมชนจัดการตนเอง ฉบับที่ 130 มกราคม-กุมภาพันธ์ 2554:
30.
นรินทร์ชัย พัฒนพงศา. แนวทางในการให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนาชนบท.
กรุงเทพมหานคร: สํานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ, 2538.
ประธาน วัฒนวาณิชย์. การมีส่วนร่วมของประชาชนในการป้องกันอาชญากรรม. วารสารสังคม.
(ฉบับพิเศษ 2536).
ประเวศ วะสี. สุขภาพในฐานะอุดมการณ์ของมนุษย์. กรุงเทพมหานคร: สถาบันวิจัยระบบ
สาธารณสุขกระทรวงสาธารณสุข, 2541.
ปาริชาติ วลัยเสถียร และคณะ. กระบวนการพัฒนาและเทคนิคการทํางานของนักพัฒนา.
กรุงเทพมหานคร: โครงการเสริมสร้างการเรียนรู้เพื่อชุมชนเป็นสุข,2546.
พระธรรมปิฎก (ป. อ. ปยุตฺโต). พจนานุกรมพุทธศาสนา ฉบับประมวลศัพท์ พิมพ์ครั้งที่ 11.
กรุงเทพมหานคร: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย,2546.
เมตตา เมตตาการุณาจิต. การบริหารจัดการศึกษาแบบมีส่วนร่วม: ประชาชน องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น และราชการ. พิมพ์ครั้งที่ 2. กรุงเทพมหานคร: บุ๊คพอยท์, 2553.
วัชรยุทธ บุญมา. “รูปแบบการพัฒนาการมีส่วนร่วมของชุมชนในการจัดการศึกษาขั้นพื้นฐานของ
สถานศึกษาขนาดเล็ก”. ครุศาสตรดุษฎีบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัย
จุฬาลงกรณ์วิทยาลัย, 2548.
วันชัย วัฒนศัพท์. การมีส่วนรวมของประชาชนในการตัดสินใจของชุมชน (เจมแอล เคร
ตัน). ศูนย์สันติวิธี เพื่อพัฒนาประชาธิปไตย. สถาบันพระปกเกล้า, 2543.
สานิตย์ บุ ญชู . ความรู้ ทั่ วไปในการพัฒนาชุมชน. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, 2527.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. “เรียนรู้หลักการทรงงานใน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว”. กรุงเทพมหานคร: บริษัท 21 เซ็นจูรี่ จํากัด, 2551.
สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ. เรียนรู้หลักการทรงงานใน
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว. กรุงเทพมหานคร บริษัท 21 เซ็นจูรี่ จํากัด, 2551.
สิริพัฒน์ ลาภจิตร. “ปัจจัยที่ส่งผลต่อการตัดสินใจมีส่วนร่วมของประชาชนในการสนับสนุนการ
บริหารงานองค์การบริหารส่วนตําบล อําเภอวารินชําราบ จังหวัดอุบลราชธานี”.
รัฐประศาสนศาสตรมหาบัณฑิต. บัณฑิตวิทยาลัย: มหาวิทยาลัยจุฬาลงกรณ์
วิทยาลัย, 2550.