กรรม 12 : ทฤษฎีแสดงความสัมพันธ์ระหว่างกรรมกับผลของกรรมและแนวทางการศึกษา
Main Article Content
บทคัดย่อ
“กรรม” เป็นองค์ความรู้สำคัญในพระพุทธศาสนา เพราะสอนให้คนเรารู้จักเคารพตนเองมั่นใจด้วยตนเองว่าแท้จริงชีวิตคนต้องเกี่ยวข้องทั้งกรรมเก่าและกรรมใหม่ แล้วจะได้วางท่าทีต่อกรรมได้อย่างถูกต้องเนื่องจากเกิดความเข้าใจว่า ชีวิตสัมพันธ์กับกรรมในทุกมิติไม่ว่ากรรมเก่า (การกระทำในอดีตชาติ) หรือกรรมใหม่ (การกระทำในชาติปัจจุบัน) ทฤษฎีกรรม 12 ได้แสดงความความสัมพันธ์(การเกี่ยวข้องกัน)ของกรรมทั้งสองไว้แล้วอย่างชัดเจน อย่างไรก็ตาม ทฤษฎีกรรม 12 ก็ใช่ว่าจะเข้าใจได้ง่าย แม้จะมีการจัดเป็นหมวด ๆ ไว้ ก็ยังทำให้เกิดความสับสนได้ ดังนั้นในบทความนี้ผู้เขียนมีความประสงค์จะแก้ความสับสนเรื่องนี้จึงได้เสนอแนวทางการทำความเข้าใจให้กระจ่างไว้ ดังจะกล่าวต่อไปตามลำดับ
Article Details
เนื้อหาและข้อมูลในบทความที่ลงตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นข้อคิดเห็นและความรับผิดชอบของผู้เขียนบทความโดยตรงซึ่งกองบรรณาธิการวารสาร ไม่จำเป็นต้องเห็นด้วย หรือร่วมรับผิดชอบใด ๆ บทความ ข้อมูล เนื้อหา รูปภาพ ฯลฯ ที่ได้รับการตีพิมพ์ในวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ถือเป็นลิขสิทธิ์ของวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์หากบุคคลหรือหน่วยงานใดต้องการนำทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งส่วนใดไปเผยแพร่ต่อหรือเพื่อกระทำการใด ๆ จะต้องได้รับอนุญาตเป็นลายลักอักษรจากวารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ก่อนเท่านั้น
References
พุทฺธโฆสาจริย. วิสุทฺธิมคฺคสฺส นาม ปกรณวิเสสสฺสตติโย ภาโค. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์มหามกุฏราชวิทยาลัย, 2526.
มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. พระไตรปิฎกภาษาบาลี. ฉบับมหาจุฬาเตปิฏกํ. 2500. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์รุ่งเรืองธรรม, 2506.
อนุรุทฺธาจริย. อภิธมฺมตฺถสงฺคห. กรุงเทพมหานคร: โรงพิมพ์จรูญการพิมพ์, 2529.